Page 8 - TM ECO
P. 8
ุ์
ั
ิ
ั
ิ
พทยา พรณอมรพนธ และ พชรดา พบถาวร
ุ
ิ
คณะเวชศาสตร์เขตร้อน มีการบริหารจัดการขยะทุกประเภทอย่างเป นระบบ
และมีความยั งยืน มีการออกนโยบายการบริหารจัดการขยะเพื อส่งเสริมให้
ทุกหน่วยงานมีการคัดแยกมูลฝอยและมีภาชนะรองรับขยะแต่ละประเภทอย่าง
เหมาะสม ซึ งท่านสามารถสแกน QR CODE เพื อเข้าอ่านนโยบายเพิ มเติมได้
หากท่านยังลังเลที จะ “แยกขยะ” เพราะคิดว่าขยะที แยกไว้ เมื อนําไปทิ งคนเก็บขยะก็นําไปรวมกัน
อยู่ดี แต่การแยกขยะเป นอีกหนึ งวิธีที จะช่วยดูแลสิ งแวดล้อมง่ายๆ ที นอกจากจะช่วยทําให้บ้านเรา
มีระเบียบและสะอาดขึ นแล้ว ยังช่วยทําให้การนําขยะไปจัดการต่อนั นง่ายและมีประสิทธิภาพยิ งขึ น
การคัดแยกขยะตั งแต่ต้นทางเป นหน้าที ของเราทุกคน เพราะต้นทางสําคัญที สุด! ‘จัดการขยะ’ จุดเริ ม
ต้นคือ ‘คัดแยก’ ซึ งคณะแบ่งขยะออกเป น 5 ประเภท ดังนี
ขยะยอยสลาย/ขยะเปยก (Compostable waste)
่
ขยะที เน่าเสียและย่อยสลายได้เร็ว สามารถนํามาหมักทําปุ ยได้ เช่น เศษผัก
เปลือกผลไม้ เศษอาหาร ใบไม้ และเศษเนื อสัตว์ เป นต้น แต่ไม่รวมซากหรือเศษ
พืช ผัก และผลไม้ ในห้องปฏิบัติการ
ิ
ี
ขยะรไซเคล (Recyclable waste)
ุ
ขยะรีไซเคิล เป นขยะที ยังใช้ได้ กล่าวคือ เป นวัสดเหลือใช้ ซึ งสามารถนํา
กลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ได้ เช่น แก้ว กระดาษ เศษพลาสติก กล่องเครื องดื ม
แบบ UHT กระป องเครื องดื ม อลูมิเนียม และยางรถยนต์ เป นต้น
ขยะอันตราย (Hazardous waste)
ขยะอันตรายเป นขยะที มีองค์ประกอบหรือปนเป อนวัตถุอันตรายชนิดต่างๆ
ได้แก่ วัตถุระเบิด วัตถุไวไฟ วัตถุออกซิไดซ์ วัตถุมีพิษ วัตถุที ทําให้เกิดโรค วัตถุ
กัมมันตรังสี วัตถุที ทําให้เกิดการเปลี ยนแปลงทางพันธกรรม วัตถุกัดกร่อน
ุ
วัตถุที ก่อให้เกิดการระคายเคือง วัตถุอย่างอื นไม่ว่าจะเป นเคมีภัณฑ์หรือสิ งอื นใด
ุ
ที อาจทําให้เกิดอันตรายแก่บคคล สัตว์ พืช ทรัพย์สินหรือสิ งแวดล้อม เช่น ถ่าน
ไฟฉาย หลอดฟลูออเรสเซนต์ แบตเตอรี โทรศัพท์เคลื อนที กระป องสเปรย์
เป นต้น
7 จุล ส า ร T M E C O N E W S