ชื่องานวิจัย |
: |
โครงการ แบบจำลองการเกิดปัญหาหมอกควันและผลกระทบต่อสุขภาพ ภายใต้โครงการ HAZE FREE Thailand ของ Research University Network: RUN |
|
คณะ/สาขาวิชา |
: |
เวชศาสตร์เขตร้อน / อนามัยสิ่งแวดล้อม |
|
ที่มาความสำคัญ |
: |
การริเริ่มโครงการวิจัยขนาดใหญ่แบบบูรณาการ เพื่อให้เกิดการบูรณาการความร่วมมือระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จากทุกภาคส่วนทั้งภาครัฐเอกชน และประชาชนในพื้นที่
และบูรณาการองค์ความรู้จากสหสาขาวิชาการต่างๆ ที่ผลงานวิจัยมีความสำเร็จ พร้อมประยุกต์ใช้ได้โดยการสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชนภายใต้ งานวิจัยตอบสนองต่อนโยบาย เป้าหมายรัฐบาล โครงการวิจัยท้าทายไทยในหัวข้อประเทศไทย
ไร้หมอกควันในปี งบประมาณ ปี 2559 - 2563 |
|
ขอบเขต/พื้นที่ศึกษา |
: |
พื้นที่ประเทศไทย และประเทศเพื่อนบ้าน (CLMV: Cambodia, Loas, Myanmar and Vietnam) |
|
วัตถุประสงค์ |
: |
การพัฒนาตัวแบบจำลองการคาดการณ์ฝุ่นละออง รูปแบบของการเกิดฝุ่นละอองและการศึกษาผลกระทบต่อสุขภาพ |
|
แหล่งทุนสนับสนุน |
: |
วช. |
|
หน่วยงานความร่วมมือ |
: |
โครงการประเทศไทยไร้หมอกควัน ร่วมกับมหาวิทยาลัยเชียงใหม่เครือข่ายพันธมิตรมหาวิทยาลัย เพื่อการวิจัยและโครงการวิจัยท้าทายไทยสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติหรือ วช. และชุมชนในพื้นที่ |
|
ผู้มึส่วนได้ส่วนเสีย |
: |
ชุมชนต่าง ๆ ประชาชนทั่วไป นักวิจัยจากสถาบันต่างๆ |
|
ระดับความร่วมมือ |
: |
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่เป็นแกนหลักร่วมกับมหาวิทยาลัยต่างๆ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ทำงานร่วมกับชุมชนและหน่วยงานท้องถิ่น |
|
ผลลัพธ์ที่นำไปใช้ประโยชน์ต่อ (ระบุวันที่มีการนำไปใช้) |
: |
ใช้เป็นระบบเตือนภัยให้กับหน่วยงานในพื้นที่ บุคลากรทางสาธารณสุข ประชาชนทั่วไป |
|
Web link อ้างอิงการดำเนินงาน |
: |
https://www.naewna.com/local/384284 |
|
ภาพประกอบ |
: |
ไม่มี |
|
SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ |
: |
3,15,17 |