สาระสำคัญของการอบรม
การบรรยาย :
สถานการณ์มาลาเรียของประเทศไทยและเพื่อนบ้านใน AEC และ Malaria elimination, วงจรชีวิต การจำแนกชนิดของเชื้อมาลาเรียโดยกล้องจุลทรรศน์ และการจำแนกชนิดของเชื้อมาลาเรียด้วยวิธี Rapid diagnostic test PCR และ Real-time PCR Leishmaniasis: โรคติดเชื้ออุบัติใหม่ในประเทศไทย, วิธีการย้อมสีมาตรฐานในการตรวจวินิจฉัยเชื้อมาลาเรียและเคล็ดลับการตรวจวินิจฉัยเชื้อมาลาเรียอย่างมีคุณภาพ
ฝึกปฏิบัติการ :
การแสดงสาธิตเชื้อมาลาเรียในคนทุกชนิดและเชื้อลิชมาเนียที่พบในคน,ย้อมสี Thick and thin smear ด้วยวิธีมาตรฐาน (giemsa’s stain),ย้อมสี Thick and thin smear ด้วยวิธี Wright’s stain, Modified Wright’s stain, Field’s stain และ Modified Field’s stain, การตรวจวินิจฉัยเชื้อมาลาเรีย โดยวิธี Rapid diagnostic test, ตรวจวินิจฉัยจำแนกชนิดเชื้อมาลาเรียด้วยตนเอง, ตรวจนับเชื้อและรายงานผลตามมาตรฐานสากล
วัตถุประสงค์
ระยะเวลาและสถานที่
วันที่ 25 – 26 กรกฎาคม 2562 ณ ห้องบรรยาย 2402 ชั้น 4 และห้องปฏิบัติการ 2303 ชั้น 3 อาคารจำลอง หะริณสุต คณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
ลิชมาเนีย และสามารถรายงานผลด้วยความถูกต้องแม่นยำ รวดเร็ว
หน่วยงานที่รับผิดชอบ
ภาควิชาพยาธิโปรโตซัว คณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล โทร. 0-2306-9182, 0-2354-9100 ต่อ 1830 โทรสาร 0-2643-5601 Facebook : Protozoaworkshop และ www.tm.mahidol.ac.th/protozoology
E-mail : hattaya.inc@mahidol.edu
“โปรดนำเสื้อกาวน์มีคะแนน CMTE จากสภาเทคนิคการแพทย์”
ดาวโหลดเอกสารเพิ่มเติม