TM_60th(ENG)_(A4)

การจัดทำโครงคาร์บอนฟุตพริ้นท์ขององค์กร

ชื่องาน : การจัดทำโครงคาร์บอนฟุตพริ้นท์ขององค์กร

ที่มาและความสำคัญ : เพื่อเป็นการคำนวณการใช้งานกิจกรรมของบุคลากรภายในอาคารราชนรินทร์

บทบาทของหน่วยงาน : คณะกรรมการอนุรักษ์พลังงาน คณะเวชศาสตร์เขตร้อน

วัตถุประสงค์ในการจัดงาน : เพื่อนำมาปรับปรุง พัฒนาให้คณะเวชศาสตร์เขตร้อนเป็นสังคมคาร์บอนต่ำ

จำนวนผู้เข้าร่วม : N/A

ช่วงเวลาที่จัด : 19 กันยายน 2562

ข้อสรุปที่จากการจัดงาน (ถ้ามี) :

ผลลัพธ์ที่ได้จากงานที่จัด (ถ้ามี) :

Website / Link : https://www.tm.mahidol.ac.th/th/th-news-event-view.php?news_id=4627

รูปภาพประกอบ :

SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ : 7, 11, 17

vertical-wind-turbine-2019

กังหันลมแนวตั้งผลิตไฟฟ้า ขนาด 200 วัตต์ 20 โวลท์

ชื่องาน : กังหันลมแนวตั้งผลิตไฟฟ้า ขนาด 200 วัตต์ 20 โวลท์

ที่มาและความสำคัญ : นวัตกรรมทางเลือกได้จัดตั้งไว้ที่วงเวียนจราจรของคณะฯ เพื่อผลิตกระแสไฟฟ้าให้แสงสว่างตอนกลางคืนบริเวณวงเวียนจราจร โดยบริเวณที่ติดตั้งสามารถรับลมได้ทุกทิศทาง

บทบาทของหน่วยงาน : คณะกรรมการอนุรักษ์พลังงาน คณะเวชศาสตร์เขตร้อน

วัตถุประสงค์ในการจัดงาน : เพื่อผลิตกระแสไฟฟ้าเป็นการประหยัดพลังงานไฟฟ้าแนวทางหนึ่ง

จำนวนผู้เข้าร่วม : N/A

ช่วงเวลาที่จัด : N/A

ข้อสรุปที่จากการจัดงาน (ถ้ามี) : สามารถผลิตไฟฟ้าเพื่อใช้บริเวณวงเวียนได้

ผลลัพธ์ที่ได้จากงานที่จัด (ถ้ามี) : ได้รับพลังงานไฟฟ้าเป็นการลดค่ากระแสไฟฟ้า

Website / Link : https://www.tm.mahidol.ac.th/tmpr/TROPMED-Headlines/Jan-2019/mobile/index.html

รูปภาพประกอบ :

SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ : 7, 8, 17

TM_60th(ENG)_(A4)

โครงการ Solar Rooftop

ชื่องาน : โครงการ Solar Rooftop

ที่มาและความสำคัญ : เพื่อให้เกิดการลดใช้พลังงานไฟฟ้า เป็นการประหยัดค่าไฟของคณะฯ

บทบาทของหน่วยงาน : คณะเวชศาสตร์เขตร้อน

วัตถุประสงค์ของการจัดงาน : เพื่อให้เกิดการเปลี่ยนจากแสงอาทิตย์มาเป็นพลังงานไฟฟ้าแทน

จำนวนผู้เข้าร่วม : N/A

ช่วงเวลาที่จัด : 3 ธันวาคม 2562

ข้อสรุปที่จากการจัดงาน (ถ้ามี) :

ผลลัพธ์ที่ได้จากงานที่จัด (ถ้ามี) : คณะฯ ประหยัดพลังงานค่าไฟฟ้าไปบางส่วน

Website / Link :

รูปภาพประกอบ :

SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ : 7, 13, 17

TM_60th(ENG)_(A4)

โครงการวิจัยยุงพาหะนำโรคไข้มาลาเรีย

ชื่องาน : โครงการวิจัยยุงพาหะนำโรคไข้มาลาเรีย

ที่มาและความสำคัญ : ศึกษาชีววิทยาของยุงพาหะในพื้นที่ที่มีการระบาดของไข้มาลาเรีย ในประเทศไทยเพื่อการวางแผนกลยุทธการควบคุมยุงพาหะไข้มาลาเรีย และสู่การกำจัดไข้มาลาเรีย

หัวข้อ : การศึกษาชีววิทยาของยุงพาหะในพื้นที่ที่มีการระบาดของไข้มาลาเรียในประเทศไทย

สถานที่จัดงาน : จ. ตาก ยะลา นราธิวาส ราชบุรี อุบลราชธานี

หน่วยงานที่ร่วมจัดงาน : สำนักงานควบคุมโรคนำโดยแมลงที่ 5 12 และ ศูนย์ควบคุมโรคติดต่อนำโดยแมลงที่ 9.3 (แม่สอด) – จังหวัดตาก

บทบาทของหน่วยงาน : ร่วมดำเนินงานวิจัยและเฝ้าระวังยุงพาหะไข้มาลาเรีย และทดสอบการดื้อยาของยุง

วัตถุประสงค์ในการจัดงาน :
1. เพื่อศึกษาโครงสร้างของประชากรยุงพาหะนา โรคไข้มาลาเรียในพืน้ ที่ระบาด
2. เพื่อศึกษาพันธุศาสตร์ประชากรของยุงพาหะนาโรคไข้มาลาเรียในประเทศไทยที่จับมาด้วยวิธีการที่ต่างกัน
3. เพื่อศึกษาและประเมินยีนเป้าหมาย ที่ตอบสนองต่อการเลือกและหาเหยื่อเพื่อกินเลือดของยุงพาหะนาโรคไข้มาลาเรีย
4. เพื่อประเมินพลวัตของการระบาดของโรคไข้มาลาเรียในพื้นที่ในประเทศไทย

จำนวนผู้เข้าร่วม :

ช่วงเวลาที่จัด : ปี 2554-2560 และปี year 2062-2566

ข้อสรุปที่จากการจัดงาน (ถ้ามี) : เอกสารรายงานผลงานวิจัยสู่ชุมชน

ผลลัพธ์ที่ได้จากงานที่จัด (ถ้ามี) : Malaria Vector part in Thailand 2020

Website / Link : https://www.icemr-sea.org

รูปภาพประกอบ : https://www.icemr-sea.org/entomology

SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ : 3, 7, 11, 13

TM_60th(ENG)_(A4)

การอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศด้านสาธารณสุข (19 – 21 พฤศจิกายน 2561)

ชื่องานสัมมนา : การอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศด้านสาธารณสุข

ที่มาและความสำคัญ : สาเหตุ แนวโน้ม และภาพสะท้อนอนาคต ของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

หัวข้อในการสัมนา : หลักสูตร : สำหรับเจ้าหน้าที่สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด รุ่นที่ 2

สถานที่จัดงาน : วันที่ 19 – 21 พฤศจิกายน 2561 ณ โรงแรม เอบีน่า เฮ้าส์ เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ

หน่วยงานที่ร่วมจัดงาน : กรมอนามัย และ สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ร่วมกับ องค์กรความร่วมมือระหว่างประเทศของเยอรมัน

บทบาทของหน่วยงาน : ภาค สาธารณสุข ในการเตรียมความพร้อมสําหรับ การป้องกันและรับมือกับความเสี่ยงด้านสุขภาพจากการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศ

วัตถุประสงค์ของการจัดงาน : climate change and Health Pathway

จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม : ประมาณ 40

ข้อสรุปที่ได้จากงานสัมมนา (ถ้ามี) : ภาคสาธารณสุข ต้องเตรียมการรองรับผลกระทบต่อสุขภาพ ทั้งด้านการปรับตัว (Adaptation) และสนับสนุนการลด ก๊าซเรือนกระจก (Mitigation) เพื่อลดและป้องกัน ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่จะเกิดขึ้น

ผลลัพธ์ที่ได้จากงานสัมมนา (ถ้ามี) :

Web link อ้างอิงการดำเนินงาน : http://hia.anamai.moph.go.th/mobile_detail.php?cid=14&nid=1901

ภาพประกอบ : http://hia.anamai.moph.go.th/mobile_detail.php?cid=14&nid=1901

SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ : 3, 4, 6, 7, 11, 13, 14, 15, 17