20220407-04

กรมควบคุมมลพิษ ได้เข้าตรวจสอบระบบบำบัดน้ำเสีย คณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล

ชื่องาน :กรมควบคุมมลพิษ ได้เข้าตรวจสอบระบบบำบัดน้ำเสีย คณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล

ที่มาและความสำคัญ : กรมควบคุมมลมลได้เข้าตรวจสอบระบบบำบัดน้ำเสียและการระบายน้ำทิ้งของคณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล

หัวข้อในการสัมมนา :

สถานที่จัดงาน : บริเวณอาคารเฉลิมพระเกียรติฯ 60ปี และอาคารสันต์สิริฯ ชั้น 1

บทบาทของหน่วยงาน : ปฏิบัติตามกฎหมายและเกณฑ์มาตรฐาน

วัตถุประสงค์ของการจัดงาน : เพื่อให้มีการพัฒนาการด้านการใช้น้ำของคณะฯ อย่างต่อเนื่องและมีมาตรฐาน

จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม :

ช่วงเวลาที่จัดกิจกรรม :

ข้อสรุปที่ได้จากการจัดงาน(ถ้ามี) : – 

ผลลัพธ์ที่ได้จากการจัดงาน(ถ้ามี) : –

Web site/link : –

รูปภาพประกอบ :

SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ : 6

13072021-2

การเสวนาการเฝ้าระวังสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ กรณีโรงงานหมิงตี้ เคมีคอล ของสภาวิชาชีพวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม แห่งประเทศไทย

ชื่องาน : การเสวนาการเฝ้าระวังสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ กรณีโรงงานหมิงตี้ เคมีคอล ของสภาวิชาชีพวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม แห่งประเทศไทย

ที่มาและความสำคัญ : ความร่วมมือในฐานะเป็นวิทยากรของคณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล กับสภาวิชาชีพวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
การสรุปบทเรียน เพื่อเฝ้าระวังด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพจาก กรณีโรงงานเกิดอุบัติเหตุไฟไหม้สารเคมี

หัวข้อในการจัดกิจกรรม : การเสวนาการเฝ้าระวังสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ กรณีโรงงานหมิงตี้ เคมีคอล

สถานที่จัดงาน : Online

บทบาทของหน่วยงาน : เป็นผู้วิทยากร

วัตถุประสงค์ของการจัดงาน : ถ่ายทอดความรู้ให้แก่ บุคลากรทั่วไป

จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม : มากกว่า 450 คน

ช่วงเวลาที่จัดกิจกรรม : 8 กรกฎาคม 2564

ข้อสรุปที่ได้จากการจัดงาน(ถ้ามี) : แนวทางการปฏิบัติตัวของประชาชทั่วไป 

ผลลัพธ์ที่ได้จากการจัดงาน(ถ้ามี) : ความร่วมมือในทางวิชาการ การนำข้อมูลไปเผยแพร่ต่อสาธารณชน

Web site/link : https://www.cstp.or.th/#!/newsView/200

รูปภาพประกอบ :

SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ : 3 , 4 ,6 ,9 ,11 ,13, 14 ,17

jitmm2020

Joint International Tropical Medicine Meeting 2020 (JITMM Virtual 2020)

ชื่องาน :  Joint International Tropical Medicine Meeting 2020 (JITMM Virtual 2020)

ที่มาและความสำคัญ : ความร่วมมือของคณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล ต่อองค์กรระหว่างประเทศ(WHO) และนานาชาติ
          The Joint International Tropical Medicine Meeting (JITMM) is the largest tropical-medicine conference in Southeast Asia. It aims to provide a platform for researchers and health practitioners from around the world to share and discuss the latest developments and trends in tropical medicine, global health, and infectious diseases. JITMM has been held annually for 25 years.
          On 15 December 2020, the opening ceremony, Assst Prof. Dr. Weerapong Phumiratanaprapin, Dean of Faculty of Tropical Medicine, Mahidol University and Chairperson of Organizing Committee commenced the program with the meeting report, followed by two welcoming addresses from Dr. Opas Karnkawinpong Director-General, Department of Disease Control The Ministry of Public Health, and Prof. Nicholas Day, Director of the Mahidol Oxford Tropical Medicine Research Unit, Thailand (MORU). The meeting is officially opened by Prof. Banchong Bahaisavariya, President of Mahidol University.
          Research Professor Dr. Jetsumon Prachumsri, Vice-chairperson of Organizing Committee introduced keynote speaker Dr. Tedros Adhanom Ghebreyesus , Director-General World Health Organization to deliver the 25th Chumlong-Tranakchit Harinhasuta Lecture.

หัวข้อในการสัมมนา :  “Tropical Disease Control amid the COVID-19 Pandemic”

สถานที่จัดงาน :  Virtual International conference

บทบาทของหน่วยงาน : เป็นผู้จัดงาน และมีทีมวิทยากร Share ในแต่ละ session แลกเปลี่ยนความรู้ การนำเสนองานวิจัยของบุคลากร และนักศึกษาของคณะ และร่วมแสดงความคิดเห็นกับนักวิจัยจากประเทศต่างๆ มีจำนวน มากกว่า 20 ห้องย่อย

วัตถุประสงค์ของการจัดงาน : แลกเปลี่ยนประสบการณ์ ผลงานวิจัย การแลกเปลี่ยนข้อมูลที่ทันสมัย การแสดงความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี การเพิ่มศักยภาพความร่วมมือเพิ่มมากขึ้น

จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม :  นักวิจัยจากทั่วโลก มากกว่า 800 คน

ช่วงเวลาที่จัดกิจกรรม :  15-16 ธันวาคม 2563

ข้อสรุปที่ได้จากงานสัมมนา(ถ้ามี) : การแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ด้านโรคเขตร้อน โดยเฉพาะการระบาดของโรคโคโรน่าไวรัส 2019 การได้ข้อมูลที่ทันสมัย เกี่ยวกับการรักษา ตัวยา พฤติกรรมของคน และอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องในการดูแลรักษาผู้ป่วยจากโรคเขตร้อน เป็นต้น

ผลลัพธ์ที่ได้จากการจัดงาน(ถ้ามี) : เพิ่มความสามารถในการวิจัย และความรู้ประสบการณ์ทางวิชาการ การขยายงานวิจัย การสร้างเครือข่ายระหว่างสมาชิก ที่เกี่ยวข้องกับ Tropical diseases

Web site/link :
www.jitmm.com
https://www.jitmm2020.com/

รูปภาพประกอบ :

SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ : 1, 2 , 3 , 4 ,17

ss-011-01-20200825

ICERPH 2018 (The third International Conference on Environmental Risks and Public Health)

ชื่องานสัมมนา : ICERPH 2018 (The third International Conference on Environmental Risks and Public Health)

ที่มาและความสำคัญ : Environmental change and public health concern have been becoming a global issue for few decades. Most of it leaded by human activities. The recent rapid economic and industrial developments in Indonesia have resulted in increased pressures on the environment and bring impact to the public health. Urban development has also resulted in changes in land use that directly affects water resources and ecosystems which then generate a hazard a health. Surface water and soil in some areas have been contaminated with both organic and inorganic substances, air is polluted with chemicals emitted from vehicle and industrial facilities, these all directly affects public health.

หัวข้อในการสัมนา : Environmental Challenges and Global Health Impact

สถานที่จัดงาน : Harper Hotel, Makassar

หน่วยงานที่ร่วมจัดงาน : Department of Environmental Health, Faculty of Public Health, Hasanuddin University

บทบาทของหน่วยงาน : Invited speaker

วัตถุประสงค์ของการจัดงาน : The conference aims to provide a forum for the dissemination and exchange of information on the diverse aspects Environmental and public health science prospective.,Organize the international Conference for Environmental Health and Public Health

จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม :

ข้อสรุปที่ได้จากงานสัมมนา (ถ้ามี) : Networking and collaboration

ผลลัพธ์ที่ได้จากงานสัมมนา (ถ้ามี) : Research and education collaboration

Web link อ้างอิงการดำเนินงาน : http://icerph.unhas.ac.id/

ภาพประกอบ :

SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ : 3, 4, 6, 10, 11, 12, 13, 14, 15, 17

TM_60th(ENG)_(A4)

การแก้ไขปัญหาระบบคุณภาพน้ำประปาชุมชนเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน

ชื่องานสัมมนา : การแก้ไขปัญหาระบบคุณภาพน้ำประปาชุมชนเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน

ที่มาและความสำคัญ : ชุมชนในประเทศไทยประสบกับปัญหาคุณภาพน้ำประปาไม่ได้ มาตรฐาน ซึ่งส่งผลกระทบต่อการดํารงชีวิตของประชาชนส่วนใหญ่ เนื่องจากน้ำประปาถือเป็นระบบ สาธารณูปโภคที่มีความสําคัญที่สุดสําหรับการใช้ชีวิตประจําวัน ไม่ว่าจะเป็นการอุปโภคบริโภค การประกอบ อาหาร และการชําระล้างสิ่งสกปรก ซึ่งปัญหาคุณภาพน้ำประปาไม่ได้มาตรฐานสามารถเกิดขึ้นได้จากปัญหา และข้อจํากัดของระบบประปาเดิม

หัวข้อในการสัมนา : การแก้ไขปัญหาระบบคุณภาพน้ำประปาชุมชนเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน

สถานที่จัดงาน : สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาตร์

หน่วยงานที่ร่วมจัดงาน : ศูนย์วิจัยขีดความสามารถในการแข่งขันสำนักวิจัย สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

บทบาทของหน่วยงาน : ผู้ทรงคุณวุฒิ วิทยากร

วัตถุประสงค์ของการจัดงาน : ระบบคุณภาพน้ำประปาในชุมชน ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของโครงการภายใต้ยุทธศาสตร์ การบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ พ.ศ. ๒๕๕๘ – ๒๕๖๙ เพื่อสนับสนุนให้มีการแก้ไขปัญหาการขาดแคลนน้ำ อุปโภค บริโภค ด้วยการก่อสร้างและปรับปรุงเพิ่มประสิทธิภาพระบบประปาชุมชน ในปัจจุบัน ชุมชนหลาย ๆ ชุมชนในประเทศไทยประสบกับปัญหาคุณภาพน้ำประปาไม่ได้ มาตรฐาน ซึ่งส่งผลกระทบต่อการดํารงชีวิตของประชาชนส่วนใหญ่ เนื่องจากน้ำประปาถือเป็นระบบ สาธารณูปโภคที่มีความสําคัญที่สุดสําหรับการใช้ชีวิตประจําวัน ไม่ว่าจะเป็นการอุปโภคบริโภค การประกอบ อาหาร และการชําระล้างสิ่งสกปรก ซึ่งปัญหาคุณภาพน้ำประปาไม่ได้มาตรฐานสามารถเกิดขึ้นได้จากปัญหา และข้อจํากัดของระบบประปาเดิม ดังนี้

(๑) แหล่งน้ำดิบที่นํามาใช้ในระบบน้ำประปาเดิม ทั้งน้ำผิวดินและน้ำบาดาลจะพบสารแขวนลอยต่าง ๆ จํานวนมาก หากไม่มีการผ่านกระบวนการบําบัดก่อน

(๒) ท่อประปาที่จัดทําจากวัสดุเหล็กอาบสังกะสี หากระยะเวลาการใช้งาน นานเกิน อาจทําให้ท่อประปาคุณภาพเสื่อมลง ก่อให้เกิดเป็นสนิม ส่งผลให้น้ำประปามีคราบแดงจากตะกอน สนิมมาปะปนในน้ำ ทําให้น้ำไม่สะอาด มีสี มีกลิ่น และส่งผลกระทบต่อสุขภาพผู้ใช้

(๓) เครื่องสูบน้ำไม่ได้ มาตรฐานและไม่มีการออกแบบในเรื่องของตําแหน่งการติดตั้ง เช่น ในกรณีที่ติดตั้งเครื่องสูบน้ำที่สูบโดยตรง จากเส้นท่อ อาจดูดสิ่งสกปรกจากบริเวณใกล้เคียง ทําให้น้ำไม่สะอาด

(๔) เครื่องกรองน้ำที่ใช้งานมานานโดยไม่ ล้างหรือเปลี่ยนไส้กรอง อาจเป็นแหล่งสะสมเชื้อโรคและแบคทีเรียได้

(๕) ถังเก็บน้ำ หรือถังพักน้ำ หากไม่มีการ ล้างทําความสะอาด สิ่งมีชีวิตเล็ก ๆ เจือปนเข้าไปจะเจริญเติบโตเพิ่มพูนขึ้นเรื่อย ๆ ทั้งนี้ เพื่อการแก้ไขและพัฒนาระบบน้ำประปาและระบบสุขอนามัยของประชากรใน ประเทศไทย

จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม :

ข้อสรุปที่ได้จากงานสัมมนา (ถ้ามี) : สามารถนําไปเป็นข้อมูลให้หน่วยงานต่างๆ ที่ เกี่ยวข้องใช้ประโยชน์ และดําเนินการหาแนวทางแก้ไขระบบคุณภาพน้ำประปา ปรับเปลี่ยนระบบให้มีคุณภาพมาตรฐานตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขและมาตรฐานประปาขององค์การ อนามัยโลก (WHO) ที่สากลยอมรับต่อไป

ผลลัพธ์ที่ได้จากงานสัมมนา (ถ้ามี) :

Web link อ้างอิงการดำเนินงาน : https://www.facebook.com/610174812778566/photos/

ภาพประกอบ :

SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ : 3, 6, 17

TM_60th(ENG)_(A4)

การอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศด้านสาธารณสุข (19 – 21 พฤศจิกายน 2561)

ชื่องานสัมมนา : การอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศด้านสาธารณสุข

ที่มาและความสำคัญ : สาเหตุ แนวโน้ม และภาพสะท้อนอนาคต ของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

หัวข้อในการสัมนา : หลักสูตร : สำหรับเจ้าหน้าที่สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด รุ่นที่ 2

สถานที่จัดงาน : วันที่ 19 – 21 พฤศจิกายน 2561 ณ โรงแรม เอบีน่า เฮ้าส์ เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ

หน่วยงานที่ร่วมจัดงาน : กรมอนามัย และ สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ร่วมกับ องค์กรความร่วมมือระหว่างประเทศของเยอรมัน

บทบาทของหน่วยงาน : ภาค สาธารณสุข ในการเตรียมความพร้อมสําหรับ การป้องกันและรับมือกับความเสี่ยงด้านสุขภาพจากการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศ

วัตถุประสงค์ของการจัดงาน : climate change and Health Pathway

จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม : ประมาณ 40

ข้อสรุปที่ได้จากงานสัมมนา (ถ้ามี) : ภาคสาธารณสุข ต้องเตรียมการรองรับผลกระทบต่อสุขภาพ ทั้งด้านการปรับตัว (Adaptation) และสนับสนุนการลด ก๊าซเรือนกระจก (Mitigation) เพื่อลดและป้องกัน ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่จะเกิดขึ้น

ผลลัพธ์ที่ได้จากงานสัมมนา (ถ้ามี) :

Web link อ้างอิงการดำเนินงาน : http://hia.anamai.moph.go.th/mobile_detail.php?cid=14&nid=1901

ภาพประกอบ : http://hia.anamai.moph.go.th/mobile_detail.php?cid=14&nid=1901

SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ : 3, 4, 6, 7, 11, 13, 14, 15, 17

ss-005-20200825

ศึกษาดูงานนวัตกรรมระบบประปาหมู่บ้านรูปแบบใหม่พร้อมเข้าชมการถ่ายทอดเทคโนโลยี

ชื่องานสัมมนา : ศึกษาดูงานนวัตกรรมระบบประปาหมู่บ้านรูปแบบใหม่พร้อมเข้าชมการถ่ายทอดเทคโนโลยี

ที่มาและความสำคัญ : ปัญหาคุณภาพน้ำประปาชุมชนไม่ได้มาตรฐาน

หัวข้อในการสัมนา : ศึกษาดูงานนวัตกรรมระบบประปาหหมู่บ้านรูปแบบใหม่พร้อมเข้าชมการถ่ายทอดเทคโนโลยี

สถานที่จัดงาน : เมื่อวันพฤหัสบดีที่ ๑๙ กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๒ ที่ผ่านมา ณ เทศบาลตำบลคูเต่า อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

หน่วยงานที่ร่วมจัดงาน : สมาคมพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ไทย และศูนย์วิจัยขีดความสามารถในการแข่งขัน สำนักวิจัย สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

บทบาทของหน่วยงาน : เป็นวิทยากรให้ความรู้ วิพากษ์ให้กับหน่วยงานผู้จัด และให้ความรู้ในชุมชน

วัตถุประสงค์ของการจัดงาน : ปัญหาคุณภาพน้ำประปาชุมชนไม่ได้มาตรฐาน ยังคงมีอยู่ในหลายชุมชนของประเทศไทย โดยเฉพาะปัญหาแบคทีเรียปนเปื้อน ดังนั้นหน่วยงานจึงมีการศึกษาหาวิธีการแก้ไขปัญหาดังกล่าว ไม่ว่าจะเป็นการจัดหาเทคโนโลยี การบำบัดน้ำที่มีประสิทธิภาพมาใช้ ตลอดจนวางแผนการบริหารจัดการระบบการผลิตน้ำประปาที่ดีให้กับชุมชน

จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม : ประมาณ 30 คน

ข้อสรุปที่ได้จากงานสัมมนา (ถ้ามี) : สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ได้นำเทคโนโลยีด้านระบบผลิตน้ำประปา ที่ได้รับการรับรองในบัญชีนวัตกรรมไทย คือ ผลงาน “ระบบผลิตน้ำประปา (Water Treatment System)” หรือ นวัตกรรมป๊อกแทงค์ (POG TANKS) ของ บริษัท คิดพร้อมทํา จํากัด ดังนั้นสถาบันจึงได้จัดโครงการศึกษานวัตกรรม เมื่อวันพฤหัสบดีที่ ๑๙ กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๒ ที่ผ่านมา ณ เทศบาลตำบลคูเต่า อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา พร้อมด้วยคณะหน่วยงานภาครัฐและสื่อมวลชน อาทิ การประปาส่วนภูมิภาค กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ภาควิชาเวชศาสตร์สังคมและสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยมหิดล เพื่อศึกษากระบวนการทำงานและตรวจสอบระบบ

ผลลัพธ์ที่ได้จากงานสัมมนา (ถ้ามี) : นวัตกรรมป๊อกแทงค์ เป็นนวัตกรรมตามแผนยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี ในการสร้างโอกาสความเสมอภาคและเท่าเทียมกันทางสังคม ให้ประชาชนในชนบทมีสิทธิเข้าถึงระบบสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐานอย่างน้ำประปาที่สะอาดและมีคุณภาพผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ทั้งนี้ บริษัท คิดพร้อมทํา จํากัด ได้พัฒนาปรับปรุงระบบให้เข้ากับคุณภาพน้ำดิบและสภาพแวดล้อมของพื้นที่ในชุมชนนั้น ๆ โดยระบบใช้ได้กับน้ำดิบทั้งประเภทผิวดินและใต้ดินภายในระบบเดียว ในด้านเทคโนโลยี ป๊อกแทงค์ได้รวมเอากระบวนการในการผลิตน้ำประปามาไว้ด้วยกันด้วยหลักการ All in one เช่น การรวมขั้นตอนการเติมอากาศ การกวน การตกตะกอน การกรอง และการระบายก๊าซอันตราย มาไว้ด้วยกันในอุปกรณ์ชิ้นเดียว ทำให้จัดการดูแลรักษาได้ง่ายและใช้พื้นที่ในการก่อสร้างน้อยกว่าระบบประปาแบบเดิม นอกจากนี้ ระบบใช้เทคโนโลยีการกรองแบบ Up Flow ทำให้ตะกอนไม่อุดตันและยืดอายุใช้งานสารกรอง การล้างทำความสะอาดโดยการ Back Wash ทำได้ง่ายจากระบบวาล์วรวมศูนย์เพียงจุดเดียว จึงทำให้การจัดการระบบ และการซ่อมบำรุงมีความสะดวกและรวดเร็ว

ดังนั้น การนำเทคโนโลยีและนวัตกรรมระบบประปาป๊อกแทงค์ไปประยุกต์ใช้กับชุมชน จึงเป็นหนึ่งในแนวทางที่สามารถนำไปแก้ไขปัญหาระบบคุณภาพน้ำประปาชุมชน ไม่ได้มาตรฐานได้ หากหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ทั้งภาครัฐและเอกชน ร่วมมือร่วมใจกันจัดการและแก้ไขปัญหาน้ำประปาชุมชนก็จะนำไปสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืนแก่สังคมต่อไป

Web link อ้างอิงการดำเนินงาน : http://www.nida.ac.th/th/index.php/nida-about/2014-12-15-06-54-48/58-photos-news-2562/1531-2019-10-10-03-12-06

ภาพประกอบ :

SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ : 3, 6, 9, 11, 12, 17

ss-013-01-20200825

Haze Free Day 2018, the opening ceremony. Welcome speech by Chiangmai Deputy Governor, Opening speech by General Secretary NTRC

ชื่องานสัมมนา : Haze Free Day 2018, the opening ceremony. Welcome speech by Chiangmai Deputy Governor, Opening speech by General Secretary NTRC

ที่มาและความสำคัญ : Particulate matters and health impact in the upper north of Thailand

หัวข้อในการสัมนา : Haze Free day

สถานที่จัดงาน : โรงแรมโลตัสปางสวนแก้ว

หน่วยงานที่ร่วมจัดงาน : วช มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เครืข่ายมหาวิทยาลัยวิจัยไทย หอการค้า กาท่องเที่ยวเชียงใหม่

บทบาทของหน่วยงาน : จัด บูท นำเสนอผลงานวิจัย

วัตถุประสงค์ของการจัดงาน : นำเสนอผลงานวิจัย

จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม :

ข้อสรุปที่ได้จากงานสัมมนา (ถ้ามี) :

ผลลัพธ์ที่ได้จากงานสัมมนา (ถ้ามี) :

Web link อ้างอิงการดำเนินงาน :

ภาพประกอบ :

SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ : 1, 2, 3, 4, 6, 10, 11, 12, 13, 14, 15, 17

TM_60th(ENG)_(A4)

The 5th UPHEC conference 2019: The role of Environmental science to support healthy city development in SDG’s ERA.It is a rich culture of ASEAN countries to present the culture.

ชื่องานสัมมนา : The 5th UPHEC conference 2019: The role of Environmental science to support healthy city development in SDG’s ERA. It is a rich culture of ASEAN countries to present the culture.

ที่มาและความสำคัญ : UPHEC is the annual program organized by Faculty of Public Health Universitas Ahmad Dahlan to offer excellent opportunities for the researchers and delegates to exchange new ideas, and to establish research or business links, as well as to build a global partnership for potential collaboration in the public health-related fields. The 6th Universitas Ahmad Dahlan Public Health Conference (The 6th UPHEC) organized by Faculty of Public Health, Universitas Ahmad Dahlan with the theme “Strengthening Intersectoral Partnership to Respond Future Population Health Dynamics and Sustainable Development”.

หัวข้อในการสัมนา :
Strengthening Intersectoral Partnership to Respond Future Population Health Dynamics and Sustainable Development

สถานที่จัดงาน : Grand Quality Hotel, Yogyarkarta, Indonesia

หน่วยงานที่ร่วมจัดงาน : Mahidol University, Faculty of Public Health Universitas Ahmad Dahlan

บทบาทของหน่วยงาน : Organize a workshop, Invited speaker

วัตถุประสงค์ของการจัดงาน : To build a global partnership for potential collaboration in the public health-related fields.

จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม : 200

ข้อสรุปที่ได้จากงานสัมมนา (ถ้ามี) : Networking

ผลลัพธ์ที่ได้จากงานสัมมนา (ถ้ามี) : Collaboration

Web link อ้างอิงการดำเนินงาน :

ภาพประกอบ :

SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ : 1, 2, 3, 4, 6, 10, 11, 12, 13, 14, 15, 17