20210210-5178-29-m

คณะเวชศาสตร์เขตร้อน ร่วมแถลงข่าว “องค์การเภสัชกรรม (จีพีโอ) เตรียมศึกษาวิจัยวัคซีนป้องกันโรคโควิด-19 ชนิดเชื้อตายในมนุษย์ระยะที่ 1 เดือนมีนาคมนี้”

ชื่องาน : คณะเวชศาสตร์เขตร้อน ร่วมแถลงข่าว “องค์การเภสัชกรรม (จีพีโอ) เตรียมศึกษาวิจัยวัคซีนป้องกันโรคโควิด-19 ชนิดเชื้อตายในมนุษย์ระยะที่ 1 เดือนมีนาคมนี้”

ที่มาและความสำคัญ : คณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล ร่วมแถลงข่าว “องค์การเภสัชกรรม (จีพีโอ) เตรียมศึกษาวิจัยวัคซีนป้องกันโรคโควิด-19 ชนิดเชื้อตายในมนุษย์ระยะที่ 1 เดือนมีนาคมนี้

หัวข้อในการสัมมนา : สำหรับประเด็นสำคัญของการแถลงข่าว องค์การเภสัชกรรม (GPO) เผยผลวิจัยพัฒนาวัคซีนป้องกันโรคโควิด-19 ชนิดเชื้อตาย ซึ่งร่วมพัฒนากับพันธมิตรในต่างประเทศ ทดสอบในสัตว์ทดลองพบว่ากระตุ้นภูมิคุ้มกันได้ผลดีและมีความปลอดภัย  โดยร่วมกับคณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล เตรียมศึกษาวิจัยทางคลินิกในมนุษย์ระยะที่ 1 เดือนมีนาคมนี้  และจะผลิตในระดับอุตสาหกรรมด้วยเทคโนโลยีไข่ไก่ฟักที่ใช้ผลิตวัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ ที่โรงงานผลิตวัคซีนขององค์การเภสัชกรรมที่ตำบลทับกวาง อำเภอแก่งคอย จังหวัดสระบุรี ปีละประมาณ 25-30 ล้านโดส สร้างความมั่นคง การพึ่งพาตนเองด้านวัคซีนของประเทศไทย 

สถานที่จัดงาน : ห้องประชุมเฉลิมพระเกียรติ ชั้น 5 อาคารเฉลิมพระเกียรติ คณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล

บทบาทของหน่วยงาน : การให้ความสำคัญและการสนับสนุนการวิจัยวัคซีนในประเทศไทย

วัตถุประสงค์ของการจัดงาน :  การให้ความสำคัญและการสนับสนุนการวิจัยวัคซีนในประเทศไทย

จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม : 30 คน

ช่วงเวลาที่จัดกิจกรรม : วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2564

ข้อสรุปที่ได้จากการจัดงาน(ถ้ามี) : – 

ผลลัพธ์ที่ได้จากการจัดงาน(ถ้ามี) :

Web site/link : https://www.tm.mahidol.ac.th/th/th-news-event-view.php?news_id=5178

รูปภาพประกอบ :

SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ : 3

20210322-5226-54-m

คณะเวชศาสตร์เขตร้อน ร่วมกับองค์การเภสัชกรรม แถลงข่าว “วัคซีนโควิด-19 ชนิดเชื้อตาย ขององค์การเภสัชกรรม เริ่มวิจัยในมนุษย์ระยะที่ 1/2”

ชื่องาน : คณะเวชศาสตร์เขตร้อน ร่วมกับองค์การเภสัชกรรม แถลงข่าว “วัคซีนโควิด-19 ชนิดเชื้อตาย ขององค์การเภสัชกรรม เริ่มวิจัยในมนุษย์ระยะที่ 1/2”

ที่มาและความสำคัญ : คณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล ร่วมกับ องค์การเภสัชกรรม วิจัยวัคซีนโควิด-19 ชนิดเชื้อตายในมนุษย์ระยะที่ 1 และ 2 รวม 460 คน ประเดิมฉีดเข็มแรกในอาสาสมัครกลุ่มแรกก่อน 18 คน คาดปลายปีนี้ได้สูตรที่ดีที่สุดไปศึกษาต่อระยะที่ 3 คาดปี 2565 ยื่นขอทะเบียนตำรับและผลิตในระดับอุตสาหกรรมได้ สร้างความมั่นคงด้านวัคซีนในประเทศ

หัวข้อในการสัมมนา :งานแถลงข่าว “วัคซีนโควิด-19 ชนิดเชื้อตาย ขององค์การเภสัชกรรม เริ่มวิจัยในมนุษย์ระยะที่ 1/2”

สถานที่จัดงาน : ห้องประชุมเฉลิมพระเกียรติ ชั้น 5 อาคารเฉลิมพระเกียรติ คณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล

บทบาทของหน่วยงาน : แถลงข่าว “วัคซีนโควิด-19 ชนิดเชื้อตาย ขององค์การเภสัชกรรม เริ่มวิจัยในมนุษย์ระยะที่ 1/2”

วัตถุประสงค์ของการจัดงาน : เยี่ยมชมสถานที่ฉีดวัคซีนโควิด-19 ในอาสาสมัคร พร้อมให้กำลังใจอาสาสมัครที่ได้รับการฉีดวัคซีนเข็มแรกในการวิจัย นำเสนอขั้นตอนการฉีดวัคซีนในอาสาสมัคร จากนั้นฉีดวัคซีนในอาสาสมัครโดยไม่เปิดเผยข้อมูลและใบหน้าของอาสาสมัคร ซึ่งผู้ร่วมงานและสื่อมวลชนรับชมการถ่ายทอดสัญญาณโทรทัศน์มายังห้องประชุมเฉลิมพระเกียรติ

จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม : 18 คน

ช่วงเวลาที่จัดกิจกรรม : วันที่ 22 มีนาคม 2564

ข้อสรุปที่ได้จากการจัดงาน(ถ้ามี) : – 

ผลลัพธ์ที่ได้จากการจัดงาน(ถ้ามี) :

Web site/link : https://www.tm.mahidol.ac.th/th/th-news-event-view.php?news_id=5226

รูปภาพประกอบ :

SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ : 3

12-05042022

โครงการวิเคราะห์โครงการตรวจวิเคราะห์วิตามินบี1 บี2 บี6

ชื่องาน : โครงการวิเคราะห์โครงการตรวจวิเคราะห์วิตามินบี1 บี2 บี6

ที่มาและความสำคัญ :โครงการบริการวิชาการของภาควิชาโภชนศาสตร์เขตร้อนและวิทยาศาสตร์อาหาร คณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล

หัวข้อในการสัมมนา :

สถานที่จัดงาน :

  • โรงพยาบาลเวชศาสตร์เขตร้อน คณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล
  • ห้องปฏิบัติการวิเคราะห์วิตามินบี1 บี2 บี6 ภาควิชาโภชนศาสตร์เขตร้อนและวิทยาศาสตร์อาหาร คณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล

บทบาทของหน่วยงาน :ให้บริการตรวจวิเคราะห์วิเคราะห์วิตามินบี1 บี2 บี6

วัตถุประสงค์ของการจัดงาน : บริการวิชาการ

จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม : 500-600 คน/ปี

ช่วงเวลาที่จัดกิจกรรม : วันและเวลาราชการ

ข้อสรุปที่ได้จากการจัดงาน(ถ้ามี) :หน่วยงานจากภายในและภายนอกให้ความสนใจและใช้บริการ

ผลลัพธ์ที่ได้จากการจัดงาน(ถ้ามี) : ความร่วมมือภายในหน่วยงาน โรงพยาบาล และหน่วยงานภายนอก

Web site/link :

รูปภาพประกอบ :

SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ : 2, 3, 4, 12, 17

09-05042022

โครงการวิเคราะห์หากรดโฟลิคในซีรั่มและเม็ดเลือดแดง

ชื่องาน :โครงการวิเคราะห์หากรดโฟลิคในซีรั่มและเม็ดเลือดแดง

ที่มาและความสำคัญ : โครงการบริการวิชาการของภาควิชาโภชนศาสตร์เขตร้อนและวิทยาศาสตร์อาหาร คณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล

หัวข้อในการสัมมนา :

สถานที่จัดงาน :

  • โรงพยาบาลเวชศาสตร์เขตร้อน คณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล
  • ห้องปฏิบัติการวิเคราะห์หากรดโฟลิคในซีรั่มและเม็ดเลือดแดง ภาควิชาโภชนศาสตร์เขตร้อนและวิทยาศาสตร์อาหาร คณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล

บทบาทของหน่วยงาน :ให้บริการตรวจวิเคราะห์หากรดโฟลิคในซีรั่มและเม็ดเลือดแดง

วัตถุประสงค์ของการจัดงาน : บริการวิชาการ

จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม : 500-600 คน/ปี

ช่วงเวลาที่จัดกิจกรรม : วันและเวลาราชการ

ข้อสรุปที่ได้จากการจัดงาน(ถ้ามี) :หน่วยงานจากภายในและภายนอกให้ความสนใจและใช้บริการ

ผลลัพธ์ที่ได้จากการจัดงาน(ถ้ามี) : ความร่วมมือภายในหน่วยงาน โรงพยาบาล และหน่วยงานภายนอก

Web site/link :

รูปภาพประกอบ :

SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ : 2, 3, 4, 12, 17

20210322-5226-57-m

คณะเวชศาสตร์เขตร้อน ร่วมกับองค์การเภสัชกรรม แถลงข่าว “วัคซีนโควิด-19 ชนิดเชื้อตาย ขององค์การเภสัชกรรม เริ่มวิจัยในมนุษย์ระยะที่ 1/2”

ชื่องาน :คณะเวชศาสตร์เขตร้อน ร่วมกับองค์การเภสัชกรรม แถลงข่าว “วัคซีนโควิด-19 ชนิดเชื้อตาย ขององค์การเภสัชกรรม เริ่มวิจัยในมนุษย์ระยะที่ 1/2”

ที่มาและความสำคัญ : การเกิดโรคระบาดโควิด-19 จึงส่งผลให้เกิดการวิจัยวัคซีนโควิด-19 ชนิดเชื้อตายในมนุษย์ระยะที่ 1 และ 2 รวม 460 คน

หัวข้อในการจัดกิจกรรม : คณะเวชศาสตร์เขตร้อน ร่วมกับองค์การเภสัชกรรม แถลงข่าว “วัคซีนโควิด-19 ชนิดเชื้อตาย ขององค์การเภสัชกรรม เริ่มวิจัยในมนุษย์ระยะที่ 1/2”

สถานที่จัดงาน : ห้องประชุมเฉลิมพระเกียรติ ชั้น 5 อาคารเฉลิมพระเกียรติ คณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล

บทบาทของหน่วยงาน : ศูนย์วัคซีน คณะเวชศาสตร์เขตร้อนได้ดำเนินการทดลองฉีดเข็มแรกในอาสาสมัครกลุ่มแรกก่อน 18 คน

วัตถุประสงค์ของการจัดงาน :แถลงข่าว ความร่วมมือคณะเวชศาสตร์เขตร้อนร่วมกับองค์การเภสัชกรรม ด้านความสำเร็จ งานด้านการวิจัย พัฒนา ผลิต วัคซีนโควิด-19 ชนิดเชื้อตาย

จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม :  

ช่วงเวลาที่จัดกิจกรรม : 22 มีนาคม 2564

ข้อสรุปที่ได้จากการจัดงาน(ถ้ามี) : คณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล ร่วมกับ องค์การเภสัชกรรม วิจัยวัคซีนโควิด-19 ชนิดเชื้อตายในมนุษย์ระยะที่ 1 และ 2 รวม 460 คน ประเดิมฉีดเข็มแรกในอาสาสมัครกลุ่มแรกก่อน 18 คน คาดปลายปีนี้ได้สูตรที่ดีที่สุดไปศึกษาต่อระยะที่ 3 คาดปี 2565 ยื่นขอทะเบียนตำรับและผลิตในระดับอุตสาหกรรมได้ สร้างความมั่นคงด้านวัคซีนในประเทศ

ผลลัพธ์ที่ได้จากการจัดงาน(ถ้ามี) : 

Web site/link : https://www.tm.mahidol.ac.th/th/th-news-event-view.php?news_id=5226

รูปภาพประกอบ :

SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ : 9

20210614-5310-8-m

พิธี “บันทึกความเข้าใจ” (MOU) ระหว่างคณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล และมหาวิทยาลัยเซาท์ฟลอริดา (University of South Florida)

ชื่องาน : พิธี “บันทึกความเข้าใจ” (MOU) ระหว่างคณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล และมหาวิทยาลัยเซาท์ฟลอริดา (University of South Florida)

ที่มาและความสำคัญ : เพื่อความร่วมมือด้านวิชาการและด้านการวิจัย รวมถึงแผนดำเนินการในอนาคตทั้งทางด้านวิชาการและด้านการวิจัยร่วมกันของทั้งสองสถาบันต่อไป

หัวข้อในการจัดกิจกรรม : พิธี “บันทึกความเข้าใจ” (MOU) ระหว่างคณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล และมหาวิทยาลัยเซาท์ฟลอริดา (University of South Florida)

สถานที่จัดงาน : คณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล

บทบาทของหน่วยงาน : 

วัตถุประสงค์ของการจัดงาน :เพื่อความร่วมมือด้านวิชาการและด้านการวิจัย รวมถึงแผนดำเนินการในอนาคตทั้งทางด้านวิชาการและด้านการวิจัยร่วมกันของทั้งสองสถาบันต่อไป

จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม :  

ช่วงเวลาที่จัดกิจกรรม :2 กุมภาพันธ์ – 17 มีนาคม 2564

ข้อสรุปที่ได้จากการจัดงาน(ถ้ามี) : “บันทึกความเข้าใจ” (MOU) ระหว่างคณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล และมหาวิทยาลัยเซาท์ฟลอริดา

ผลลัพธ์ที่ได้จากการจัดงาน(ถ้ามี) : 

Web site/link : https://www.tm.mahidol.ac.th/th/th-news-event-view.php?news_id=5310

รูปภาพประกอบ :

SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ : 9, 11

20210512-5274-2-m

คณะเวชศาสตร์เขตร้อน ร่วมแถลง “การทดสอบประสิทธิภาพการฆ่าเชื้อบนพื้นผิวยาวนาน 24 ชั่วโมง ภายใต้โครงการความร่วมมือด้านการวิจัยและพัฒนาด้านสุขภาพและการแพทย์ และรับมอบ ‘เบนไซออน’ สารฆ่าเชื้อโรค”

ชื่องาน : คณะเวชศาสตร์เขตร้อน ร่วมแถลง “การทดสอบประสิทธิภาพการฆ่าเชื้อบนพื้นผิวยาวนาน 24 ชั่วโมง ภายใต้โครงการความร่วมมือด้านการวิจัยและพัฒนาด้านสุขภาพและการแพทย์ และรับมอบ ‘เบนไซออน’ สารฆ่าเชื้อโรค”

ที่มาและความสำคัญ : การบริการทางการแพทย์ด้านเวชศาสตร์เขตร้อน การรองรับผู้ป่วยและมาตรการต่างๆ ในสถานการณ์ระบาดของโรค COVID-19 จึงมีการร่วมมือกันระหว่างงานวิจัยทางคลินิกด้านเวชศาสตร์เขตร้อนและความร่วมมือด้านการแพทย์ร่วมกับ สวทช. ทางด้านผู้อำนวยการศูนย์นาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ (นาโนเทค) สวทช.

หัวข้อในการจัดกิจกรรม : คณะเวชศาสตร์เขตร้อน ร่วมแถลง “การทดสอบประสิทธิภาพการฆ่าเชื้อบนพื้นผิวยาวนาน 24 ชั่วโมง ภายใต้โครงการความร่วมมือด้านการวิจัยและพัฒนาด้านสุขภาพและการแพทย์ และรับมอบ ‘เบนไซออน’ สารฆ่าเชื้อโรค”

สถานที่จัดงาน : ห้องประชุมประตาป สิงหศิวานนท์ ชั้น 17 อาคารราชนครินทร์ คณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล

บทบาทของหน่วยงาน : ให้ความร่วมมือทางการแพทย์ การรองรับผู้ป่วยและมาตรการต่างๆ ในสถานการณ์ระบาดของโรค COVID-19

วัตถุประสงค์ของการจัดงาน :ความร่วมมือทางการแพทย์การทดสอบประสิทธิภาพการฆ่าเชื้อบนพื้นผิวยาวนาน 24 ชั่วโมง ภายใต้โครงการความร่วมมือด้านการวิจัยและพัฒนาด้านสุขภาพและการแพทย์ และรับมอบ ‘เบนไซออน’ สารฆ่าเชื้อโรค

จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม :  

ช่วงเวลาที่จัดกิจกรรม :12 พฤษภาคม 2564

ข้อสรุปที่ได้จากการจัดงาน(ถ้ามี) : ‘เบนไซออน’ สารฆ่าเชื้อโรคสามารถฆ่าเชื้อไวรัสในตระกูลโคโรนาไวรัส (Coronavirus) ได้ถึง 99.9% ภายในเวลา 1 นาที และยังคงประสิทธิภาพในการฆ่าเชื้อไวรัสนาน 24 ชั่วโมง

ผลลัพธ์ที่ได้จากการจัดงาน(ถ้ามี) : คณะเวชศาสตร์เขตร้อน รับมอบ ‘เบนไซออน’ จำนวน 300 ลิตร จากผู้อำนวยการศูนย์นาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ (นาโนเทค) สวทช และคุณธนากร ตั้งเมธากุล กรรมการผู้จัดการ บริษัท ยูนิซิล กรุ๊ป จำกัด เพื่อนำไปใช้ประโยชน์ในโรงพยาบาลเวชศาสตร์เขตร้อนต่อไป

Web site/link : https://www.tm.mahidol.ac.th/th/th-news-event-view.php?news_id=5274

รูปภาพประกอบ :

SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ : 3

100720212

Training Program in Technology of Medicine and Public Health for Health Personnel from the Lao People’s Democratic Republic initiated by Her Royal Highness Princess Maha Chakri Sirindhorn

ชื่องาน :  Training Program in Technology of Medicine and Public Health for Health Personnel from the Lao People’s Democratic Republic initiated by Her Royal Highness Princess Maha Chakri Sirindhorn

ที่มาและความสำคัญ : ความร่วมมือของคณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล ต่อ ประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาว
          Faculty of Tropical Medicine, Mahidol University hosted “The Training Course on Tropical Medicine under the project initiated by Her Royal Highness Princess Maha Chakri Sirindhorn for doctors from Lao PDR during 1 February – 17 March 2021. Due to current COVID-19 pandemic situation, the training was held online via Zoom Application.

หัวข้อในการสัมมนา :  The Training Course on Tropical Medicine under the project initiated by Her Royal Highness Princess Maha Chakri Sirindhorn.

สถานที่จัดงาน :  Online training course

บทบาทของหน่วยงาน : เป็นผู้จัดงาน และมีทีมวิทยากร แลกเปลี่ยนความรู้ การให้คำปรึกษางานวิจัย

วัตถุประสงค์ของการจัดงาน : เพิ่มพูนความรู้ให้แก่ บุคลากรทางการแพทย์ แก่ สปป. ลาว และเพิ่มความร่วมมือทางงานวิจัยและวิชาการให้มากขึ้น

จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม :  มากกว่า 30 คน

ช่วงเวลาที่จัดกิจกรรม :  1 February – 17 March 2021.

ข้อสรุปที่ได้จากงานสัมมนา(ถ้ามี) : ร่างความร่วมมือ ระหว่างสองประเทศเกี่ยวกับงานพัฒนาการแพทย์และสาธารณสุข

ผลลัพธ์ที่ได้จากการจัดงาน(ถ้ามี) : ความร่วมมือในทางวิชาการ งานวิจัย

Web site/link : https://www.tm.mahidol.ac.th/eng/eng-news-event-view.php?news_id=5165

รูปภาพประกอบ :

SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ : 3 , 4 ,17

TM_60th(ENG)_(A4)

โครงการวิจัยยุงพาหะนำโรคไข้มาลาเรีย

ชื่องาน : โครงการวิจัยยุงพาหะนำโรคไข้มาลาเรีย

ที่มาและความสำคัญ : ศึกษาชีววิทยาของยุงพาหะในพื้นที่ที่มีการระบาดของไข้มาลาเรีย ในประเทศไทยเพื่อการวางแผนกลยุทธการควบคุมยุงพาหะไข้มาลาเรีย และสู่การกำจัดไข้มาลาเรีย

หัวข้อ : การศึกษาชีววิทยาของยุงพาหะในพื้นที่ที่มีการระบาดของไข้มาลาเรียในประเทศไทย

สถานที่จัดงาน : จ. ตาก ยะลา นราธิวาส ราชบุรี อุบลราชธานี

หน่วยงานที่ร่วมจัดงาน : สำนักงานควบคุมโรคนำโดยแมลงที่ 5 12 และ ศูนย์ควบคุมโรคติดต่อนำโดยแมลงที่ 9.3 (แม่สอด) – จังหวัดตาก

บทบาทของหน่วยงาน : ร่วมดำเนินงานวิจัยและเฝ้าระวังยุงพาหะไข้มาลาเรีย และทดสอบการดื้อยาของยุง

วัตถุประสงค์ในการจัดงาน :
1. เพื่อศึกษาโครงสร้างของประชากรยุงพาหะนา โรคไข้มาลาเรียในพืน้ ที่ระบาด
2. เพื่อศึกษาพันธุศาสตร์ประชากรของยุงพาหะนาโรคไข้มาลาเรียในประเทศไทยที่จับมาด้วยวิธีการที่ต่างกัน
3. เพื่อศึกษาและประเมินยีนเป้าหมาย ที่ตอบสนองต่อการเลือกและหาเหยื่อเพื่อกินเลือดของยุงพาหะนาโรคไข้มาลาเรีย
4. เพื่อประเมินพลวัตของการระบาดของโรคไข้มาลาเรียในพื้นที่ในประเทศไทย

จำนวนผู้เข้าร่วม :

ช่วงเวลาที่จัด : ปี 2554-2560 และปี year 2062-2566

ข้อสรุปที่จากการจัดงาน (ถ้ามี) : เอกสารรายงานผลงานวิจัยสู่ชุมชน

ผลลัพธ์ที่ได้จากงานที่จัด (ถ้ามี) : Malaria Vector part in Thailand 2020

Website / Link : https://www.icemr-sea.org

รูปภาพประกอบ : https://www.icemr-sea.org/entomology

SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ : 3, 7, 11, 13

TM_60th(ENG)_(A4)

โครงการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ จากมลพิษอากาศ (Assessing Air Pollution and Health Impact in Thailand)​

ชื่องานวิจัย : โครงการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ จากมลพิษอากาศ (Assessing Air Pollution and Health Impact in Thailand)​

คณะ/สาขาวิชา : เวชศาสตร์เขตร้อน / อนามัยสิ่งแวดล้อม

ที่มาความสำคัญ : ประเทศไทยเผชิญปัญหามลพิษอากาศ และส่งผลกระทบต่อสุขภาพจากการรับสัมผัส

ขอบเขต/พื้นที่ศึกษา : พื้นที่ประเทศไทย และประเทศเพื่อนบ้าน (CLMV: Cambodia, Loas, Myanmar and Vietnam)

วัตถุประสงค์ : การพัฒนาตัวแบบจำลองการคาดการณ์ฝุ่นละออง รูปแบบของการเกิดฝุ่นละอองและการศึกษาผลกระทบต่อสุขภาพ

แหล่งทุนสนับสนุน : วช.

หน่วยงานความร่วมมือ : โครงการประเทศไทยไร้หมอกควัน ร่วมกับมหาวิทยาลัยเชียงใหม่เครือข่ายพันธมิตรมหาวิทยาลัยเพื่อการวิจัยและโครงการวิจัยท้าทายไทยสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติหรือ วช. และชุมชนในพื้นที่

ผู้มึส่วนได้ส่วนเสีย : ชุมชนต่าง ๆ ประชาชนทั่วไป นักวิจัยจากสถาบันต่างๆ

ระดับความร่วมมือ : มหาวิทยาลัยเชียงใหม่เป็นแกนหลักร่วมกับมหาวิทยาลัยต่างๆ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ทำงานร่วมกับชุมชนและหน่วยงานท้องถิ่น

ผลลัพธ์ที่นำไปใช้ประโยชน์ต่อ
(ระบุวันที่มีการนำไปใช้) : ใช้เป็นระบบเตือนภัยให้กับหน่วยงานในพื้นที่ บุคลากรทางสาธารณสุข ประชาชนทั่วไป

Web link อ้างอิงการดำเนินงาน : https://www.naewna.com/local/384284

ภาพประกอบ : ไม่มี

SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ : 3,15,17