20180804-3923-20-m

กิจกรรม “ปลูกใจด้วยจิต ปลูกชีวิตด้วยป่าชายเลน”

ชื่องาน : กิจกรรม “ปลูกใจด้วยจิต ปลูกชีวิตด้วยป่าชายเลน”

ที่มาและความสำคัญ : เนื่องด้วยสถานการณ์ป่าชายเลนได้ถูกทำลายไปเป็นจำนวนมาก

บทบาทของหน่วยงาน : คณะกรรมการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม คณะเวชศาสตร์เขตร้อน

วัตถุประสงค์ในการจัดงาน : เพื่อร่วมกันอนุรักษ์ระบบนิเวศชายฝั่ง และฟื้นฟูป่าชายเลนเพิ่มความอุดมสมบูรณ์ให้แก่ทรัพยากรชายฝั่ง

จำนวนผู้เข้าร่วม : N/A

ช่วงเวลาที่จัด : 4 สิงหาคม 2561

ข้อสรุปที่จากการจัดงาน (ถ้ามี) : จะมีการติดตามผลของโครงการของคณะเวชศาสตร์เขตร้อนเป็นระยะ

ผลลัพธ์ที่ได้จากงานที่จัด (ถ้ามี) :

Website / Link : https://www.tm.mahidol.ac.th/th/th-news-event-view.php?news_id=3923

รูปภาพประกอบ :

SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ : 14, 15, 17

SAMSUNG CSC

การฝึกอบรมด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในสาขาสาธารณสุข เพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านสาธารณสุข : หลักสูตรสำหรับเจ้าหน้าที่ส่วนกลางและศูนย์อนามัย

ชื่องาน : การฝึกอบรมด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในสาขาสาธารณสุข เพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านสาธารณสุข : หลักสูตรสำหรับเจ้าหน้าที่ส่วนกลางและศูนย์อนามัย

ที่มาและความสำคัญ : การเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศนั้นสามารถส่งผลกระทบได้รอบด้าน

บทบาทของหน่วยงาน : กรมอนามัย

วัตถุประสงค์ในการจัดงาน : การเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศนั้นสามารถส่งผลกระทบได้รอบด้านจึงควรคำนึงถึงเรื่องต่างๆ เช่น สุขภาพ

จำนวนผู้เข้าร่วม : N/A

ช่วงเวลาที่จัด : 10-12 ตุลาคม 2561

ข้อสรุปที่จากการจัดงาน (ถ้ามี) :

ผลลัพธ์ที่ได้จากงานที่จัด (ถ้ามี) :

Website / Link : http://hia.anamai.moph.go.th/ewtadmin/ewt/san/ewt_news.php?nid=1869

รูปภาพประกอบ :

SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ : 11, 16, 17

TM_60th(ENG)_(A4)

International Training course

ชื่องาน : International Training course

ที่มาและความสำคัญ : ความร่วมมือของมหาวิทยาลัยมหิดล ต่อสถาบันการศึกษาในต่างประเทศ

หัวข้อในการสัมนา : Basic System Thinking and System Dynamic Approach for Environmental Management

สถานที่จัดงาน : อาคารราชนครินทร์ คณะเวชศาสตร์เขตร้อน

หน่วยงานที่ร่วมจัดงาน : วช มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เครืข่ายมหาวิทยาลัยวิจัยไทย หอการค้า กาท่องเที่ยวเชียงใหม่

บทบาทของหน่วยงาน : เป็นผู้จัดงานและวิทยากรให้ความรู้และการลงมือปฏิบัติ

วัตถุประสงค์ของการจัดงาน : ให้ความรู้พื้นฐานกับ คณาจารย์ และนักศึกษาระดัง ปริญญาโท

จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม : 22 คน

ช่วงเวลาร่วมกิจกรรม : 4 – 5 กรกฏาคม 2561

ข้อสรุปที่ได้จากงานสัมมนา (ถ้ามี) : นักศึกษาให้ความสนใจและมีความพึงพอใจมากกว่าร้อยละ 80

ผลลัพธ์ที่ได้จากงานสัมมนา (ถ้ามี) : ความร่วมมือในทางวิชาการ งานวิจัย

Web link อ้างอิงการดำเนินงาน : https://www.facebook.com/Department-of-Social-and-Environmental-Medicine-169198077154424

ภาพประกอบ :

SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ : 3, 4, 12, 13, 17

TM_60th(ENG)_(A4)

The international seminar and research collaboration among Thailand, Korea and Laos PDR at the National University of Health Science,Vientiane

ชื่องาน : The international seminar and research collaboration among Thailand, Korea and Laos PDR at the National University of Health Science,Vientiane

ที่มาและความสำคัญ : ปัญหาหมอกควันข้ามแดน (Transboundary effect) ทำให้เกิดผลกระทบต่อคุณภาพอากาศ และสุขภาพของประชาชน

หัวข้อในการสัมนา : Haze and health Impact

สถานที่จัดงาน : National University of Health Science, Vientien Lao PDR

หน่วยงานที่ร่วมจัดงาน : วช มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เครืข่ายมหาวิทยาลัยวิจัยไทย หอการค้า กาท่องเที่ยวเชียงใหม่

บทบาทของหน่วยงาน : เป็นผู้จัดงาน และประสานความร่วมมือกับประเทศ สปป.ลาว

วัตถุประสงค์ของการจัดงาน : ให้เกิดความเข้าใจเรื่องการเกิดฝุ่นและผลกระทบต่อสุขภาพ

จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม : 70 คน

ช่วงเวลาร่วมกิจกรรม : 14 สิงหาคม 2561

ข้อสรุปที่ได้จากงานสัมมนา (ถ้ามี) : ความเข้าใจของหน่วยงานที่เข้าร่วมประชุมและทิศทางการจัดการในอนาคต

ผลลัพธ์ที่ได้จากงานสัมมนา (ถ้ามี) : ความร่วมมือในทางวิชาการ งานวิจัยระหว่างประเทศไทย สปป.ลาว เกาหลีใต้

Web link อ้างอิงการดำเนินงาน : https://www.facebook.com/Department-of-Social-and-Environmental-Medicine-169198077154424

ภาพประกอบ :

SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ : 3, 4, 13, 17

ss-011-01-20200825

ICERPH 2018 (The third International Conference on Environmental Risks and Public Health)

ชื่องานสัมมนา : ICERPH 2018 (The third International Conference on Environmental Risks and Public Health)

ที่มาและความสำคัญ : Environmental change and public health concern have been becoming a global issue for few decades. Most of it leaded by human activities. The recent rapid economic and industrial developments in Indonesia have resulted in increased pressures on the environment and bring impact to the public health. Urban development has also resulted in changes in land use that directly affects water resources and ecosystems which then generate a hazard a health. Surface water and soil in some areas have been contaminated with both organic and inorganic substances, air is polluted with chemicals emitted from vehicle and industrial facilities, these all directly affects public health.

หัวข้อในการสัมนา : Environmental Challenges and Global Health Impact

สถานที่จัดงาน : Harper Hotel, Makassar

หน่วยงานที่ร่วมจัดงาน : Department of Environmental Health, Faculty of Public Health, Hasanuddin University

บทบาทของหน่วยงาน : Invited speaker

วัตถุประสงค์ของการจัดงาน : The conference aims to provide a forum for the dissemination and exchange of information on the diverse aspects Environmental and public health science prospective.,Organize the international Conference for Environmental Health and Public Health

จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม :

ข้อสรุปที่ได้จากงานสัมมนา (ถ้ามี) : Networking and collaboration

ผลลัพธ์ที่ได้จากงานสัมมนา (ถ้ามี) : Research and education collaboration

Web link อ้างอิงการดำเนินงาน : http://icerph.unhas.ac.id/

ภาพประกอบ :

SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ : 3, 4, 6, 10, 11, 12, 13, 14, 15, 17

TM_60th(ENG)_(A4)

การอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศด้านสาธารณสุข (19 – 21 พฤศจิกายน 2561)

ชื่องานสัมมนา : การอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศด้านสาธารณสุข

ที่มาและความสำคัญ : สาเหตุ แนวโน้ม และภาพสะท้อนอนาคต ของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

หัวข้อในการสัมนา : หลักสูตร : สำหรับเจ้าหน้าที่สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด รุ่นที่ 2

สถานที่จัดงาน : วันที่ 19 – 21 พฤศจิกายน 2561 ณ โรงแรม เอบีน่า เฮ้าส์ เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ

หน่วยงานที่ร่วมจัดงาน : กรมอนามัย และ สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ร่วมกับ องค์กรความร่วมมือระหว่างประเทศของเยอรมัน

บทบาทของหน่วยงาน : ภาค สาธารณสุข ในการเตรียมความพร้อมสําหรับ การป้องกันและรับมือกับความเสี่ยงด้านสุขภาพจากการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศ

วัตถุประสงค์ของการจัดงาน : climate change and Health Pathway

จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม : ประมาณ 40

ข้อสรุปที่ได้จากงานสัมมนา (ถ้ามี) : ภาคสาธารณสุข ต้องเตรียมการรองรับผลกระทบต่อสุขภาพ ทั้งด้านการปรับตัว (Adaptation) และสนับสนุนการลด ก๊าซเรือนกระจก (Mitigation) เพื่อลดและป้องกัน ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่จะเกิดขึ้น

ผลลัพธ์ที่ได้จากงานสัมมนา (ถ้ามี) :

Web link อ้างอิงการดำเนินงาน : http://hia.anamai.moph.go.th/mobile_detail.php?cid=14&nid=1901

ภาพประกอบ : http://hia.anamai.moph.go.th/mobile_detail.php?cid=14&nid=1901

SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ : 3, 4, 6, 7, 11, 13, 14, 15, 17

ss-008-01-20200825

การอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศด้านสาธารณสุข

ชื่องานสัมมนา : การอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศด้านสาธารณสุข

ที่มาและความสำคัญ : บุคลากรทางสาธารณสุข ยังขาดองค์ความรู้ในการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพจากสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศ และผลกระทบต่อสุขภาพ รวมถึงปัญหามลพิษอากาศ

หัวข้อในการสัมนา : หลักสูตร : สำหรับเจ้าหน้าที่ของกระทรวงสาธารณสุข (ส่วนกลาง) สำนักงานอนามัยสิ่งแวดล้อม ในพื้นที่ รุ่นที่ 1

สถานที่จัดงาน : ระหว่างวันที่ 12 – 14 พฤศจิกายน 2561 ณ โรงแรมเบสท์เวสเทิร์นพลัส แวนด้าแกรนด์ แจ้งวัฒนะ อำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี

หน่วยงานที่ร่วมจัดงาน : กรมอนามัย และ สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ร่วมกับ องค์กรความร่วมมือระหว่างประเทศของเยอรมัน

บทบาทของหน่วยงาน : วิทยากรให้ความรู้ จัดอบรม

วัตถุประสงค์ของการจัดงาน :
– เพื่อสร้างความเข้าใจต่อความหมาย สาเหตุ แนวโน้ม และผลกระทบด้านสุขภาพของ สภาพอากาศและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ รวมถึงมาตรการแก้ไขและการ ปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

– เพื่อสร้างความเข้าใจถึงผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศต่อสุขภาพ และการปรับตัวเพื่อลดความเสี่ยงต่อสุขภาพและลดผลกระทบ

– เพื่อสร้างความเข้าใจต่อการประเมินความเสี่ยงต่อสุขภาพและผลกระทบจากการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

– เพื่อสร้างความเข้าใจต่อหลักการจัดการและการสื่อสารความเสี่ยง ผ่านกรณีศึกษาใน ประเทศไทย

– เพื่อสร้างความเข้าใจต่อนโยบายและแผนด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ในระดับ โลก ระดับประเทศ และในสาขาสาธารณสุข

– เพื่อสามารถพัฒนาและนําเสนอแนวทางการบูรณาการแผนการปรับตัวต่อการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศด้านสาธารณสุขในระดับชาติและระดับจังหวัด

จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม : เป้าหมาย 40

ข้อสรุปที่ได้จากงานสัมมนา (ถ้ามี) : เป็นโอกาสในการพัฒนาความรู้ความเข้าใจของเจ้าหน้าที่สาธารณสุข การปรับตัวต่อการขับเคลื่อนงานแบบบูรณาการข้ามภาคส่วน รวมทั้งสามารถประยุกต์ใช้ในการดำเนินงานระดับพื้นที่ ภายใต้แผนการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศด้านสาธารณสุขได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ผลลัพธ์ที่ได้จากงานสัมมนา (ถ้ามี) : เจ้าหน้าที่สํานักงานสาธารณสุขจังหวัด สามารถบูรณาการแผนหรือกิจกรรม การปรับตัวต่อ CC ในระดับส่วนกลางและพื้นที่

Web link อ้างอิงการดำเนินงาน : http://hia.anamai.moph.go.th/ewt_news.php?nid=1872&filename=index

ภาพประกอบ :

SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ : 3, 10, 11, 12, 13, 14, 15, 17

TM_60th(ENG)_(A4)

โครงการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ จากมลพิษอากาศ (Assessing Air Pollution and Health Impact in Thailand)​

ชื่องานวิจัย : โครงการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ จากมลพิษอากาศ (Assessing Air Pollution and Health Impact in Thailand)​

คณะ/สาขาวิชา : เวชศาสตร์เขตร้อน / อนามัยสิ่งแวดล้อม

ที่มาความสำคัญ : ประเทศไทยเผชิญปัญหามลพิษอากาศ และส่งผลกระทบต่อสุขภาพจากการรับสัมผัส

ขอบเขต/พื้นที่ศึกษา : พื้นที่ประเทศไทย และประเทศเพื่อนบ้าน (CLMV: Cambodia, Loas, Myanmar and Vietnam)

วัตถุประสงค์ : การพัฒนาตัวแบบจำลองการคาดการณ์ฝุ่นละออง รูปแบบของการเกิดฝุ่นละอองและการศึกษาผลกระทบต่อสุขภาพ

แหล่งทุนสนับสนุน : วช.

หน่วยงานความร่วมมือ : โครงการประเทศไทยไร้หมอกควัน ร่วมกับมหาวิทยาลัยเชียงใหม่เครือข่ายพันธมิตรมหาวิทยาลัยเพื่อการวิจัยและโครงการวิจัยท้าทายไทยสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติหรือ วช. และชุมชนในพื้นที่

ผู้มึส่วนได้ส่วนเสีย : ชุมชนต่าง ๆ ประชาชนทั่วไป นักวิจัยจากสถาบันต่างๆ

ระดับความร่วมมือ : มหาวิทยาลัยเชียงใหม่เป็นแกนหลักร่วมกับมหาวิทยาลัยต่างๆ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ทำงานร่วมกับชุมชนและหน่วยงานท้องถิ่น

ผลลัพธ์ที่นำไปใช้ประโยชน์ต่อ
(ระบุวันที่มีการนำไปใช้) : ใช้เป็นระบบเตือนภัยให้กับหน่วยงานในพื้นที่ บุคลากรทางสาธารณสุข ประชาชนทั่วไป

Web link อ้างอิงการดำเนินงาน : https://www.naewna.com/local/384284

ภาพประกอบ : ไม่มี

SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ : 3,15,17

TM_60th(ENG)_(A4)

โครงการการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพจากมลพิษอากาศ

ชื่องานวิจัย : โครงการการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพจากมลพิษอากาศ

คณะ/สาขาวิชา : เวชศาสตร์เขตร้อน / อนามัยสิ่งแวดล้อม

ที่มาความสำคัญ : การริเริ่มโครงการวิจัยขนาดใหญ่แบบบูรณาการเพื่อให้เกิดการบูรณาการความร่วมมือระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจากทุกภาคส่วนทั้ง ภาครัฐ เอกชน และประชาชนในพื้นที่ และบูรณาการองค์ความรู้จากสหสาขาวิชาการต่างๆ ที่ผลงานวิจัยมีความสำเร็จ พร้อมประยุกต์ใช้ได้โดยการสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชน ภายใต้งานวิจัยตอบสนองต่อนโยบายเป้าหมายรัฐบาล โครงการวิจัยท้าทายไทยในหัวข้อประเทศไทยไร้หมอกควันในปี งบประมาณ ปี 2559

ขอบเขต/พื้นที่ศึกษา : พื้นที่ประเทศไทย และประเทศเพื่อนบ้าน (CLMV: Cambodia, Loas, Myanmar and Vietnam)

วัตถุประสงค์ : การพัฒนาตัวแบบจำลองการคาดการณ์ฝุ่นละออง รูปแบบของการเกิดฝุ่นละอองและการศึกษาผลกระทบต่อสุขภาพ

แหล่งทุนสนับสนุน : วช.

หน่วยงานความร่วมมือ : โครงการประเทศไทยไร้หมอกควัน ร่วมกับมหาวิทยาลัยเชียงใหม่เครือข่ายพันธมิตรมหาวิทยาลัย เพื่อการวิจัยและโครงการวิจัยท้าทายไทยสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติหรือ วช. และชุมชนในพื้นที่

ผู้มึส่วนได้ส่วนเสีย : ชุมชนต่าง ๆ ประชาชนทั่วไป นักวิจัยจากสถาบันต่างๆ

ระดับความร่วมมือ : มหาวิทยาลัยเชียงใหม่เป็นแกนหลักร่วมกับมหาวิทยาลัยต่างๆ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ทำงานร่วมกับชุมชนและหน่วยงานท้องถิ่น

ผลลัพธ์ที่นำไปใช้ประโยชน์ต่อ
(ระบุวันที่มีการนำไปใช้) : ใช้เป็นระบบเตือนภัยให้กับหน่วยงานในพื้นที่ บุคลากรทางสาธารณสุข ประชาชนทั่วไป ในประเทศไทยและ CLMV

Web link อ้างอิงการดำเนินงาน : https://www.naewna.com/local/384284

ภาพประกอบ : ไม่มี

SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ : 3,15,17

TM_60th(ENG)_(A4)

โครงการ แบบจำลองการเกิดปัญหาหมอกควันและผลกระทบต่อสุขภาพ ภายใต้โครงการ HAZE FREE​ Thailand​ ของ Research University Network: RUN​

ชื่องานวิจัย : โครงการ แบบจำลองการเกิดปัญหาหมอกควันและผลกระทบต่อสุขภาพ ภายใต้โครงการ HAZE FREE​ Thailand​ ของ Research University Network: RUN​

คณะ/สาขาวิชา : เวชศาสตร์เขตร้อน / อนามัยสิ่งแวดล้อม

ที่มาความสำคัญ : การริเริ่มโครงการวิจัยขนาดใหญ่แบบบูรณาการ เพื่อให้เกิดการบูรณาการความร่วมมือระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จากทุกภาคส่วนทั้งภาครัฐเอกชน และประชาชนในพื้นที่ และบูรณาการองค์ความรู้จากสหสาขาวิชาการต่างๆ ที่ผลงานวิจัยมีความสำเร็จ พร้อมประยุกต์ใช้ได้โดยการสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชนภายใต้ งานวิจัยตอบสนองต่อนโยบาย เป้าหมายรัฐบาล โครงการวิจัยท้าทายไทยในหัวข้อประเทศไทย ไร้หมอกควันในปี งบประมาณ ปี 2559 – 2563

ขอบเขต/พื้นที่ศึกษา : พื้นที่ประเทศไทย และประเทศเพื่อนบ้าน (CLMV: Cambodia, Loas, Myanmar and Vietnam)

วัตถุประสงค์ : การพัฒนาตัวแบบจำลองการคาดการณ์ฝุ่นละออง รูปแบบของการเกิดฝุ่นละอองและการศึกษาผลกระทบต่อสุขภาพ

แหล่งทุนสนับสนุน : วช.

หน่วยงานความร่วมมือ : โครงการประเทศไทยไร้หมอกควัน ร่วมกับมหาวิทยาลัยเชียงใหม่เครือข่ายพันธมิตรมหาวิทยาลัย เพื่อการวิจัยและโครงการวิจัยท้าทายไทยสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติหรือ วช. และชุมชนในพื้นที่

ผู้มึส่วนได้ส่วนเสีย : ชุมชนต่าง ๆ ประชาชนทั่วไป นักวิจัยจากสถาบันต่างๆ

ระดับความร่วมมือ : มหาวิทยาลัยเชียงใหม่เป็นแกนหลักร่วมกับมหาวิทยาลัยต่างๆ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ทำงานร่วมกับชุมชนและหน่วยงานท้องถิ่น

ผลลัพธ์ที่นำไปใช้ประโยชน์ต่อ
(ระบุวันที่มีการนำไปใช้) : ใช้เป็นระบบเตือนภัยให้กับหน่วยงานในพื้นที่ บุคลากรทางสาธารณสุข ประชาชนทั่วไป

Web link อ้างอิงการดำเนินงาน : https://www.naewna.com/local/384284

ภาพประกอบ : ไม่มี

SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ : 3,15,17