20210319-5237-m

โรงพยาบาลเวชศาสตร์เขตร้อน ได้รับรางวัล Bangkok GREEN & CLEAN Hospital Plus (BKKGC+) ประจำปี 2562 (ระดับทอง)

ชื่องาน : โรงพยาบาลเวชศาสตร์เขตร้อน ได้รับรางวัล Bangkok GREEN & CLEAN Hospital Plus (BKKGC+) ประจำปี 2562 (ระดับทอง)

ที่มาและความสำคัญ : โรงพยาบาลเวชศาสตร์เขตร้อน ได้รับการตรวจประเมินโรงพยาบาลตามเกณฑ์มาตรฐาน Bangkok GREEN & CLEAN hospital Plus (BKKGC+) ในปีงบประมาณ พ.ศ.2562 มีผลประเมินระดับทอง (Gold) จากสถาบันพัฒนาสุขภาวะเขตเมือง กรมอนามัย ร่วมกับสำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร

หัวข้อในการจัดกิจกรรม : โรงพยาบาลเวชศาสตร์เขตร้อน ได้รับรางวัล Bangkok GREEN & CLEAN Hospital Plus (BKKGC+) ประจำปี 2562 (ระดับทอง)

สถานที่จัดงาน : ห้องประชุมเมจิก 3 ชั้น 2 โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพมหานคร

บทบาทของหน่วยงาน : นำเสนอผลงานวิชาการในหัวข้อ “Super Smart Scale” ในการประชุมเชิงปฏิบัติการ การจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมในสถานบริการการสาธารณสุข

วัตถุประสงค์ของการจัดงาน :

จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม :  

ช่วงเวลาที่จัดกิจกรรม :19 มีนาคม 2564

ข้อสรุปที่ได้จากการจัดงาน(ถ้ามี) : เข้ารับโล่รางวัล Bangkok GREEN & CLEAN Hospital Plus (BKKGC+) ประจำปี 2562 (ระดับทอง)

ผลลัพธ์ที่ได้จากการจัดงาน(ถ้ามี) : 

Web site/link : https://www.tm.mahidol.ac.th/th/th-news-event-view.php?news_id=5237

รูปภาพประกอบ :

SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ : 8

20210322-5226-57-m

คณะเวชศาสตร์เขตร้อน ร่วมกับองค์การเภสัชกรรม แถลงข่าว “วัคซีนโควิด-19 ชนิดเชื้อตาย ขององค์การเภสัชกรรม เริ่มวิจัยในมนุษย์ระยะที่ 1/2”

ชื่องาน :คณะเวชศาสตร์เขตร้อน ร่วมกับองค์การเภสัชกรรม แถลงข่าว “วัคซีนโควิด-19 ชนิดเชื้อตาย ขององค์การเภสัชกรรม เริ่มวิจัยในมนุษย์ระยะที่ 1/2”

ที่มาและความสำคัญ : การเกิดโรคระบาดโควิด-19 จึงส่งผลให้เกิดการวิจัยวัคซีนโควิด-19 ชนิดเชื้อตายในมนุษย์ระยะที่ 1 และ 2 รวม 460 คน

หัวข้อในการจัดกิจกรรม : คณะเวชศาสตร์เขตร้อน ร่วมกับองค์การเภสัชกรรม แถลงข่าว “วัคซีนโควิด-19 ชนิดเชื้อตาย ขององค์การเภสัชกรรม เริ่มวิจัยในมนุษย์ระยะที่ 1/2”

สถานที่จัดงาน : ห้องประชุมเฉลิมพระเกียรติ ชั้น 5 อาคารเฉลิมพระเกียรติ คณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล

บทบาทของหน่วยงาน : ศูนย์วัคซีน คณะเวชศาสตร์เขตร้อนได้ดำเนินการทดลองฉีดเข็มแรกในอาสาสมัครกลุ่มแรกก่อน 18 คน

วัตถุประสงค์ของการจัดงาน :แถลงข่าว ความร่วมมือคณะเวชศาสตร์เขตร้อนร่วมกับองค์การเภสัชกรรม ด้านความสำเร็จ งานด้านการวิจัย พัฒนา ผลิต วัคซีนโควิด-19 ชนิดเชื้อตาย

จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม :  

ช่วงเวลาที่จัดกิจกรรม : 22 มีนาคม 2564

ข้อสรุปที่ได้จากการจัดงาน(ถ้ามี) : คณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล ร่วมกับ องค์การเภสัชกรรม วิจัยวัคซีนโควิด-19 ชนิดเชื้อตายในมนุษย์ระยะที่ 1 และ 2 รวม 460 คน ประเดิมฉีดเข็มแรกในอาสาสมัครกลุ่มแรกก่อน 18 คน คาดปลายปีนี้ได้สูตรที่ดีที่สุดไปศึกษาต่อระยะที่ 3 คาดปี 2565 ยื่นขอทะเบียนตำรับและผลิตในระดับอุตสาหกรรมได้ สร้างความมั่นคงด้านวัคซีนในประเทศ

ผลลัพธ์ที่ได้จากการจัดงาน(ถ้ามี) : 

Web site/link : https://www.tm.mahidol.ac.th/th/th-news-event-view.php?news_id=5226

รูปภาพประกอบ :

SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ : 9

20210315-5214-1-m

การฝึกอบรมเทคโนโลยีทางการแพทย์และสาธารณสุข หลักสูตรโรคเมืองร้อน สำหรับบุคลากรทางการแพทย์จากสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว

ชื่องาน : การฝึกอบรมเทคโนโลยีทางการแพทย์และสาธารณสุข หลักสูตรโรคเมืองร้อน สำหรับบุคลากรทางการแพทย์จากสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว

ที่มาและความสำคัญ : โครงการส่วนพระองค์ของสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี โดยสำนักพระราชวัง ร่วมกับ กรมความร่วมมือระหว่างประเทศ กระทรวงการต่างประเทศ และ มหาวิทยาลัยมหิดล

หัวข้อในการจัดกิจกรรม : การฝึกอบรมเทคโนโลยีทางการแพทย์และสาธารณสุข หลักสูตรโรคเมืองร้อน สำหรับบุคลากรทางการแพทย์จากสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว

สถานที่จัดงาน : Online training course

บทบาทของหน่วยงาน : การฝึกอบรมเทคโนโลยีทางการแพทย์และสาธารณสุขสำหรับบุคลากรทางการแพทย์จากสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว

วัตถุประสงค์ของการจัดงาน : เพิ่มพูนความรู้และทักษะในการส่งเสริมสุขภาพ การรักษาโรค การดูแลผู้ป่วย และการใช้ยา เพื่อเสริมสร้างและพัฒนาบุคลากรด้านสาธารณสุขและเพิ่มพูนทักษะกระบวนการทำงานเป็นทีม รวมทั้งการแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ในการพัฒนางานการแพทย์และสาธารณสุขให้กับบุคลากรทางการแพทย์จากสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว

จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม :  5 คน 

ช่วงเวลาที่จัดกิจกรรม :1 กุมภาพันธ์ – 17 มีนาคม 2564

ข้อสรุปที่ได้จากการจัดงาน(ถ้ามี) : สามารถเพิ่มพูนความรู้และทักษะในการส่งเสริมสุขภาพ การรักษาโรค การดูแลผู้ป่วย และการใช้ยา เพื่อเสริมสร้างและพัฒนาบุคลากรด้านสาธารณสุขและเพิ่มพูนทักษะกระบวนการทำงานเป็นทีม รวมทั้งการแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ในการพัฒนางานการแพทย์และสาธารณสุขให้กับบุคลากรทางการแพทย์จากสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว

ผลลัพธ์ที่ได้จากการจัดงาน(ถ้ามี) : 

Web site/link : https://www.tm.mahidol.ac.th/th/th-news-event-view.php?news_id=5214

รูปภาพประกอบ :

SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ : 4

20210614-5310-8-m

พิธี “บันทึกความเข้าใจ” (MOU) ระหว่างคณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล และมหาวิทยาลัยเซาท์ฟลอริดา (University of South Florida)

ชื่องาน : พิธี “บันทึกความเข้าใจ” (MOU) ระหว่างคณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล และมหาวิทยาลัยเซาท์ฟลอริดา (University of South Florida)

ที่มาและความสำคัญ : เพื่อความร่วมมือด้านวิชาการและด้านการวิจัย รวมถึงแผนดำเนินการในอนาคตทั้งทางด้านวิชาการและด้านการวิจัยร่วมกันของทั้งสองสถาบันต่อไป

หัวข้อในการจัดกิจกรรม : พิธี “บันทึกความเข้าใจ” (MOU) ระหว่างคณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล และมหาวิทยาลัยเซาท์ฟลอริดา (University of South Florida)

สถานที่จัดงาน : คณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล

บทบาทของหน่วยงาน : 

วัตถุประสงค์ของการจัดงาน :เพื่อความร่วมมือด้านวิชาการและด้านการวิจัย รวมถึงแผนดำเนินการในอนาคตทั้งทางด้านวิชาการและด้านการวิจัยร่วมกันของทั้งสองสถาบันต่อไป

จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม :  

ช่วงเวลาที่จัดกิจกรรม :2 กุมภาพันธ์ – 17 มีนาคม 2564

ข้อสรุปที่ได้จากการจัดงาน(ถ้ามี) : “บันทึกความเข้าใจ” (MOU) ระหว่างคณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล และมหาวิทยาลัยเซาท์ฟลอริดา

ผลลัพธ์ที่ได้จากการจัดงาน(ถ้ามี) : 

Web site/link : https://www.tm.mahidol.ac.th/th/th-news-event-view.php?news_id=5310

รูปภาพประกอบ :

SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ : 9, 11

20210512-5274-2-m

คณะเวชศาสตร์เขตร้อน ร่วมแถลง “การทดสอบประสิทธิภาพการฆ่าเชื้อบนพื้นผิวยาวนาน 24 ชั่วโมง ภายใต้โครงการความร่วมมือด้านการวิจัยและพัฒนาด้านสุขภาพและการแพทย์ และรับมอบ ‘เบนไซออน’ สารฆ่าเชื้อโรค”

ชื่องาน : คณะเวชศาสตร์เขตร้อน ร่วมแถลง “การทดสอบประสิทธิภาพการฆ่าเชื้อบนพื้นผิวยาวนาน 24 ชั่วโมง ภายใต้โครงการความร่วมมือด้านการวิจัยและพัฒนาด้านสุขภาพและการแพทย์ และรับมอบ ‘เบนไซออน’ สารฆ่าเชื้อโรค”

ที่มาและความสำคัญ : การบริการทางการแพทย์ด้านเวชศาสตร์เขตร้อน การรองรับผู้ป่วยและมาตรการต่างๆ ในสถานการณ์ระบาดของโรค COVID-19 จึงมีการร่วมมือกันระหว่างงานวิจัยทางคลินิกด้านเวชศาสตร์เขตร้อนและความร่วมมือด้านการแพทย์ร่วมกับ สวทช. ทางด้านผู้อำนวยการศูนย์นาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ (นาโนเทค) สวทช.

หัวข้อในการจัดกิจกรรม : คณะเวชศาสตร์เขตร้อน ร่วมแถลง “การทดสอบประสิทธิภาพการฆ่าเชื้อบนพื้นผิวยาวนาน 24 ชั่วโมง ภายใต้โครงการความร่วมมือด้านการวิจัยและพัฒนาด้านสุขภาพและการแพทย์ และรับมอบ ‘เบนไซออน’ สารฆ่าเชื้อโรค”

สถานที่จัดงาน : ห้องประชุมประตาป สิงหศิวานนท์ ชั้น 17 อาคารราชนครินทร์ คณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล

บทบาทของหน่วยงาน : ให้ความร่วมมือทางการแพทย์ การรองรับผู้ป่วยและมาตรการต่างๆ ในสถานการณ์ระบาดของโรค COVID-19

วัตถุประสงค์ของการจัดงาน :ความร่วมมือทางการแพทย์การทดสอบประสิทธิภาพการฆ่าเชื้อบนพื้นผิวยาวนาน 24 ชั่วโมง ภายใต้โครงการความร่วมมือด้านการวิจัยและพัฒนาด้านสุขภาพและการแพทย์ และรับมอบ ‘เบนไซออน’ สารฆ่าเชื้อโรค

จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม :  

ช่วงเวลาที่จัดกิจกรรม :12 พฤษภาคม 2564

ข้อสรุปที่ได้จากการจัดงาน(ถ้ามี) : ‘เบนไซออน’ สารฆ่าเชื้อโรคสามารถฆ่าเชื้อไวรัสในตระกูลโคโรนาไวรัส (Coronavirus) ได้ถึง 99.9% ภายในเวลา 1 นาที และยังคงประสิทธิภาพในการฆ่าเชื้อไวรัสนาน 24 ชั่วโมง

ผลลัพธ์ที่ได้จากการจัดงาน(ถ้ามี) : คณะเวชศาสตร์เขตร้อน รับมอบ ‘เบนไซออน’ จำนวน 300 ลิตร จากผู้อำนวยการศูนย์นาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ (นาโนเทค) สวทช และคุณธนากร ตั้งเมธากุล กรรมการผู้จัดการ บริษัท ยูนิซิล กรุ๊ป จำกัด เพื่อนำไปใช้ประโยชน์ในโรงพยาบาลเวชศาสตร์เขตร้อนต่อไป

Web site/link : https://www.tm.mahidol.ac.th/th/th-news-event-view.php?news_id=5274

รูปภาพประกอบ :

SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ : 3

20210526-5293-1-m

U2T ทีมบ้านม่วงชุม ลงพื้นที่เพื่อดำเนินกิจกรรมเชิงรุก ป้องกันการแพร่ระบาดของ COVID-19

ชื่องาน : U2T ทีมบ้านม่วงชุม ลงพื้นที่เพื่อดำเนินกิจกรรมเชิงรุก ป้องกันการแพร่ระบาดของ COVID-19

ที่มาและความสำคัญ : เป็นโครงการมหาวิทยาลัยสู่ตำบล สร้างรากแก้วให้ประเทศ (U2T)

หัวข้อในการจัดกิจกรรม : U2T ทีมบ้านม่วงชุม ลงพื้นที่เพื่อดำเนินกิจกรรมเชิงรุก ป้องกันการแพร่ระบาดของ COVID-19

สถานที่จัดงาน : ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านต้นสำโรง และศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองโป่ง ตำบลม่วงชุม อำเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี

บทบาทของหน่วยงาน : มหาวิทยาลัยสู่ตำบล สร้างรากแก้วให้ประเทศ (U2T)

วัตถุประสงค์ของการจัดงาน : ดำเนินกิจกรรมเชิงรุก ป้องกันการแพร่ระบาดของ COVID-19

จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม :  

ช่วงเวลาที่จัดกิจกรรม :26 พฤษภาคม 2564 


ข้อสรุปที่ได้จากการจัดงาน(ถ้ามี) : โครงการมหาวิทยาลัยสู่ตำบล สร้างรากแก้วให้ประเทศ ได้ดำเนินการเชิงรุก ช่วงโควิด-19ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านต้นสำโรง และศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองโป่ง ตำบลม่วงชุม อำเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี ได้รับความรู้ ความเข้าใจในการปฏิบัติตนช่วงโควิด-19

ผลลัพธ์ที่ได้จากการจัดงาน(ถ้ามี) : ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านต้นสำโรง และศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองโป่ง ตำบลม่วงชุม อำเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี ได้รับความรู้ ความเข้าใจในการปฏิบัติตนช่วงโควิด-20

Web site/link : https://www.tm.mahidol.ac.th/th/th-news-event-view.php?news_id=5293

รูปภาพประกอบ :

SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ : 10

20210325-5236-25-m

โครงการปลูกต้นไม้เพื่อดูดกลับก๊าซเรือนกระจก ปี 3

ชื่องาน :โครงการปลูกต้นไม้เพื่อดูดกลับก๊าซเรือนกระจก ปี 3

ที่มาและความสำคัญ : โครงการปลูกต้นไม้เพื่อดูดกลับก๊าซเรือนกระจก ปี 3 จากกองกายภาพและสิ่งแวดล้อม สำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยมหิดล

หัวข้อในการจัดกิจกรรม : โครงการปลูกต้นไม้เพื่อดูดกลับก๊าซเรือนกระจก ปี 3

สถานที่จัดงาน : หอประชุมราชพฤกษ์ คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

บทบาทของหน่วยงาน : คณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล เข้าร่วมโครงการปลูกต้นไม้เพื่อดูดกลับก๊าซเรือนกระจก ปี 4

วัตถุประสงค์ของการจัดงาน :เพิ่มพื้นที่สีเขียว

จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม :  

ช่วงเวลาที่จัดกิจกรรม :25 มีนาคม 2564

ข้อสรุปที่ได้จากการจัดงาน(ถ้ามี) : คณะเวชศาสตร์เขตร้อนมีพื้นที่สีเขียวมากขึ้น

ผลลัพธ์ที่ได้จากการจัดงาน(ถ้ามี) : 

Web site/link : https://www.tm.mahidol.ac.th/th/th-news-event-view.php?news_id=5236

รูปภาพประกอบ :

SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ : 15

20210604-5301

การเสวนาออนไลน์เนื่องในวันสิ่งแวดล้อมโลก ประจำปี 2564 หัวข้อ “การจัดการสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืนภายใต้วิกฤตโควิด-19” ผ่านโปรแกรม Cisco Webex Meetings

ชื่องาน :การเสวนาออนไลน์เนื่องในวันสิ่งแวดล้อมโลก ประจำปี 2564 หัวข้อ “การจัดการสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืนภายใต้วิกฤตโควิด-19” ผ่านโปรแกรม Cisco Webex Meetings

ที่มาและความสำคัญ : เนื่องในวันสิ่งแวดล้อมโลก 2021

หัวข้อในการจัดกิจกรรม : การจัดการสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืนภายใต้วิกฤตโควิด-19

สถานที่จัดงาน : โปรแกรม Cisco Webex Meetings

บทบาทของหน่วยงาน : เชิญวิทยากรมาเสวนาออนไลน์เนื่องในวันสิ่งแวดล้อมโลก ประจำปี 2564 หัวข้อ “การจัดการสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืนภายใต้วิกฤตโควิด-19”

วัตถุประสงค์ของการจัดงาน :เพื่อให้ผู้เข้ารับฟังได้รับความรู้ความเข้าใจการจัดการพลังงานและสิ่งแวดล้อมขององค์กร แนวทางการดำเนินงานที่ทำงานสีเขียว (Green Office) และการจัดการขยะมูลฝอยในพื้นที่กรุงเทพมหานคร

จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม :  100

ช่วงเวลาที่จัดกิจกรรม :  4 มิถุนายน 2564

ข้อสรุปที่ได้จากการจัดงาน(ถ้ามี) : มีผู้ให้ความสนใจในการฟังเสวนาเป็นจำนวนมาก

ผลลัพธ์ที่ได้จากการจัดงาน(ถ้ามี) : 

Web site/link : https://www.tm.mahidol.ac.th/th/th-news-event-view.php?news_id=5301

รูปภาพประกอบ :

SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ : 11, 17

20210324-5233-24-m

การตรวจประเมินตัดสินการประกวดโครงการ Thailand Energy Awards 2021 ด้านอนุรักษ์พลังงาน ประเภทอาคาร-ควบคุม

ชื่องาน : การตรวจประเมินตัดสินการประกวดโครงการ Thailand Energy Awards 2021 ด้านอนุรักษ์พลังงาน ประเภทอาคาร-ควบคุม

ที่มาและความสำคัญ : กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน กระทรวงพลังงาน ได้มีการเปิดรับสมัครให้แต่ละองค์กรสามารถเข้าร่วมประกวดโครงการ Thailand Energy Awards 2021

หัวข้อในการจัดกิจกรรม : การตรวจประเมินตัดสินการประกวดโครงการ Thailand Energy Awards 2021 ด้านอนุรักษ์พลังงาน ประเภทอาคาร-ควบคุม

สถานที่จัดงาน : ห้องประชุมประตาป สิงหศิวานนท์ ชั้น 17 อาคารราชนครินทร์ คณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล

บทบาทของหน่วยงาน : เข้าร่วมการประกวดโครงการ Thailand Energy Awards 2021 ด้านอนุรักษ์พลังงาน ประเภทอาคาร-ควบคุม

วัตถุประสงค์ของการจัดงาน :เพื่อให้บุคลากรภายในคณะตระหนักการใช้พลังงานอย่างคุ้มค่า

จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม :  

ช่วงเวลาที่จัดกิจกรรม :  24 มีนาคม 2564

ข้อสรุปที่ได้จากการจัดงาน(ถ้ามี) : 

ผลลัพธ์ที่ได้จากการจัดงาน(ถ้ามี) : 

Web site/link : https://www.tm.mahidol.ac.th/th/th-news-event-view.php?news_id=5233

รูปภาพประกอบ :

SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ : 17

20210225-5196-1-m

การประชุมวิชาการระยะสั้น Travel Medicine 2021

ชื่องาน :  การประชุมวิชาการระยะสั้น Travel Medicine 2021

ที่มาและความสำคัญ : เป็นการให้ความรู้ ฝึกทักษะแก่แพทย์ทั่วไป แพทย์เฉพาะทาง แพทย์ประจำบ้าน รวมถึงบุคลากรทางการแพทย์ที่สนใจในด้านเวชศาสตร์การเดินทางและท่องเที่ยว และเพื่อให้การดูแลรักษานักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและต่างประเทศมีความถูกต้องและเหมาะสมตรงตามหลักวิชาการในระดับนานาชาติ

หัวข้อในการจัดกิจกรรม :Travel Medicine 2021

สถานที่จัดงาน : ห้องประชุมประตาป สิงหศิวานนท์ ชั้น 17 อาคารราชนครินทร์ คณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล

บทบาทของหน่วยงาน : การจัดประชุมวิชาการระยะสั้น Travel Medicine 2021 “Travel Medicine in the COVID-19 era

วัตถุประสงค์ของการจัดงาน : เพื่อเป็นการให้ความรู้ ฝึกทักษะแก่แพทย์ทั่วไป แพทย์เฉพาะทาง แพทย์ประจำบ้าน รวมถึงบุคลากรทางการแพทย์ที่สนใจในด้านเวชศาสตร์การเดินทางและท่องเที่ยว และเพื่อให้การดูแลรักษานักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและต่างประเทศมีความถูกต้องและเหมาะสมตรงตามหลักวิชาการในระดับนานาชาติ

จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม :  

ช่วงเวลาที่จัดกิจกรรม :  25 – 26 กุมภาพันธ์ 2564

ข้อสรุปที่ได้จากการจัดงาน(ถ้ามี) : ผู้เข้ารับฟังได้ความรู้ ฝึกทักษะแก่แพทย์ทั่วไป แพทย์เฉพาะทาง แพทย์ประจำบ้าน

ผลลัพธ์ที่ได้จากการจัดงาน(ถ้ามี) : 

Web site/link : https://www.tm.mahidol.ac.th/th/th-news-event-view.php?news_id=5196

รูปภาพประกอบ :

SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ : 3