TM_60th(ENG)_(A4)

โครงการวิจัยยุงพาหะนำโรคไข้มาลาเรีย

ชื่องาน : โครงการวิจัยยุงพาหะนำโรคไข้มาลาเรีย

ที่มาและความสำคัญ : ศึกษาชีววิทยาของยุงพาหะในพื้นที่ที่มีการระบาดของไข้มาลาเรีย ในประเทศไทยเพื่อการวางแผนกลยุทธการควบคุมยุงพาหะไข้มาลาเรีย และสู่การกำจัดไข้มาลาเรีย

หัวข้อ : การศึกษาชีววิทยาของยุงพาหะในพื้นที่ที่มีการระบาดของไข้มาลาเรียในประเทศไทย

สถานที่จัดงาน : จ. ตาก ยะลา นราธิวาส ราชบุรี อุบลราชธานี

หน่วยงานที่ร่วมจัดงาน : สำนักงานควบคุมโรคนำโดยแมลงที่ 5 12 และ ศูนย์ควบคุมโรคติดต่อนำโดยแมลงที่ 9.3 (แม่สอด) – จังหวัดตาก

บทบาทของหน่วยงาน : ร่วมดำเนินงานวิจัยและเฝ้าระวังยุงพาหะไข้มาลาเรีย และทดสอบการดื้อยาของยุง

วัตถุประสงค์ในการจัดงาน :
1. เพื่อศึกษาโครงสร้างของประชากรยุงพาหะนา โรคไข้มาลาเรียในพืน้ ที่ระบาด
2. เพื่อศึกษาพันธุศาสตร์ประชากรของยุงพาหะนาโรคไข้มาลาเรียในประเทศไทยที่จับมาด้วยวิธีการที่ต่างกัน
3. เพื่อศึกษาและประเมินยีนเป้าหมาย ที่ตอบสนองต่อการเลือกและหาเหยื่อเพื่อกินเลือดของยุงพาหะนาโรคไข้มาลาเรีย
4. เพื่อประเมินพลวัตของการระบาดของโรคไข้มาลาเรียในพื้นที่ในประเทศไทย

จำนวนผู้เข้าร่วม :

ช่วงเวลาที่จัด : ปี 2554-2560 และปี year 2062-2566

ข้อสรุปที่จากการจัดงาน (ถ้ามี) : เอกสารรายงานผลงานวิจัยสู่ชุมชน

ผลลัพธ์ที่ได้จากงานที่จัด (ถ้ามี) : Malaria Vector part in Thailand 2020

Website / Link : https://www.icemr-sea.org

รูปภาพประกอบ : https://www.icemr-sea.org/entomology

SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ : 3, 7, 11, 13

20191203-4720-18-m

โครงการ Meet the dean

ชื่องาน : โครงการ Meet the dean

ที่มาและความสำคัญ : เพื่อให้เกิดความเข้าใจในองค์กร และทำงานอย่างมีความสุข

บทบาทของหน่วยงาน : เป็นผู้จัดกิจกรรม เพื่อให้บุคคลากรทุกระดับ ทุกเชื้อชาติ ศาสนา ที่ทำงานในคณะฯ ได้มีการเรียนรู้ซึ่งกันและกัน และหาแนวทางการแก้ปัญหาร่วมกัน

วัตถุประสงค์ของการจัดงาน : เพื่อให้มีการบริหารงานในคณะอย่างโปร่งใส เป็นสังคมการพัฒนาที่เอื้ออาทร

จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม : N/A

ช่วงเวลาที่จัดกิจกรรม : 3 ธันวาคม 2562

ข้อสรุปที่ได้จากงานสัมมนา (ถ้ามี) : ทราบประเด็นปัญหา และแนวทางการแก้ไขปัญหาร่วมกัน

ผลลัพธ์ที่ได้จากการจัดงาน(ถ้ามี) : บุคลากรมีความเข้าใจ ในองค์กร และทำงานร่วมกันได้อย่างสันติสุข

Website / Link : https://www.tm.mahidol.ac.th/th/th-news-event-view.php?news_id=4720

รูปภาพประกอบ :

SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ : 3, 16

20190918-4632-1-m

ชมรมศิลปะ

ชื่องาน : ชมรมศิลปะ

ที่มาและความสำคัญ : จัดการอบรมสร้างเสริมวิชาชีพ ให้กับบุคลากรในคณะ

บทบาทของหน่วยงาน : เป็นผู้จัดหาบุคลากร หรือบุคลภายนอกมาจัดอบรม การจัดทำกิจกรรม ของชำร่วย อาหาร เครื่องดื่ม และอื่นๆ เพื่อเป็นแนวทางการเสริมสร้างรายได้ เพิ่มเติมให้กับ ผู้สนใจและบุคลากรของคณะ

วัตถุประสงค์ของการจัดงาน : ให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถ นำไปประกอบอาชีพ หรือทำเป็นงานอดิเรกได้

จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม : N/A

ช่วงเวลาที่จัดกิจกรรม : 18 กันยายน 2562

ข้อสรุปที่ได้จากงานสัมมนา (ถ้ามี) : สามารถ ทำได้ตามกิจกรรมที่เข้าอบรม อาทิ การทำช่อดอกไม้ จากธนบัตร

ผลลัพธ์ที่ได้จากการจัดงาน(ถ้ามี) : ผู้เข้าอบรม มีความรู้ ทักษะท่าสามารถนำไปต่อยอด เสริมสร้างรายได้เพิ่ม

Website / Link : https://www.tm.mahidol.ac.th/th/th-news-event-view.php?news_id=4632

รูปภาพประกอบ :

SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ : 3, 8, 17

noppalak-project-002

การพัฒนาทรัพยากรบุคคล โครงการนพลักษณ์

ชื่องาน : การพัฒนาทรัพยากรบุคคล โครงการนพลักษณ์

ที่มาและความสำคัญ : การเปลี่ยนแปลงของสังคมที่ซับซ้อน และการทำงานร่วมกันจากกลุ่มคนที่มีพื้นฐานที่แตกต่างกัน

บทบาทของหน่วยงาน : เป็นผู้จัดงาน ให้กับบุคลากรในทุกระดับ ทุกเพศ เพื่อให้เกิดความสมดุล และการรู้จักตนเอง

วัตถุประสงค์ของการจัดงาน : ให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรม มีความเข้าใจในความแตกต่างของบุคคลและรู้จักตนเองมากขึ้น

จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม : N/A

ช่วงเวลาที่จัดกิจกรรม : 20 – 21 สิงหาคม 2563

ข้อสรุปที่ได้จากงานสัมมนา (ถ้ามี) : ความเข้าใจในตนเองและผู้อื่น

ผลลัพธ์ที่ได้จากการจัดงาน(ถ้ามี) : การรู้จักตนเอง เพื่อทำงานในองค์กรอย่างมีความสุข

Website / Link : https://www.tm.mahidol.ac.th/th/th-news-event-view.php?news_id=4960

รูปภาพประกอบ :

SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ : 3, 5, 16

TM_60th(ENG)_(A4)

Assessing the Health Impacts of Air Pollution in Thailand

ชื่องาน : Assessing the Health Impacts of Air Pollution in Thailand

คณะ / สาขา : เวชศาสตร์เขตร้อน / สิ่งแวดล้อมและสุขภาพ

ที่มาและความสำคัญ : ความร่วมมือของมหาวิทยาลัยมหิดล ต่อสถาบันการศึกษาในต่างประเทศในประเด็นปัญหาระดับชาติของประเทศ ศึกษาแนวทาง รูปแบบการประเมินภายใต้บริบทไทย

หัวข้อในการสัมนา : Basic System Thinking and System Dynamic Approach for Environmental Management

ขอบเขต / พื้นที่ศึกษา : มลพิษอากาศกับปัญหาสุขภาพ พื้นที่ประเทศไทยเจาะลึกที่กรุงทพมหานครและเชียงใหม่

บทบาทของหน่วยงาน : เป็นผู้จัดงาน และเป็นวิทยากรให้ความรู้ และการลงมือปฏิบัติ

แหล่งทุนสนับสนุน : สกสว (ไทย) และ NEWTON Fund(UK)

หน่วยงานที่ร่วมมือ : Institute of Occupational Medicine และ Heriot-Watt University แห่งสหราชอาณาจักร

ผู้มีส่วนได้เสีย : กรมควบคุมมลพิษ กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ และกรุงเทพมหานคร ภาครัฐ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ประชาชนทั่วไป นักวิชาการที่ทำวิจัยด้านนี้

ระดับความร่วมมือ : ระหว่างประเทศ

ผลลัพธ์ที่นำไปใช้ประโยชน์ : กำหนดมาตรการ ป้องกันมลพิษอากาศ การเฝ้าระวังสุขภาพ การวางแผนงานรับมือ/ตอบสนองต่อมลพิษอากาศ

Website / Link :
https://www.facebook.com/Department-of-Social-and-Environmental-Medicine
www.taphia.org

SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ : 3, 4, 12, 13, 17

TM_60th(ENG)_(A4)

International Training course

ชื่องาน : International Training course

ที่มาและความสำคัญ : ความร่วมมือของมหาวิทยาลัยมหิดล ต่อสถาบันการศึกษาในต่างประเทศ

หัวข้อในการสัมนา : Basic System Thinking and System Dynamic Approach for Environmental Management

สถานที่จัดงาน : อาคารราชนครินทร์ คณะเวชศาสตร์เขตร้อน

หน่วยงานที่ร่วมจัดงาน : วช มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เครืข่ายมหาวิทยาลัยวิจัยไทย หอการค้า กาท่องเที่ยวเชียงใหม่

บทบาทของหน่วยงาน : เป็นผู้จัดงานและวิทยากรให้ความรู้และการลงมือปฏิบัติ

วัตถุประสงค์ของการจัดงาน : ให้ความรู้พื้นฐานกับ คณาจารย์ และนักศึกษาระดัง ปริญญาโท

จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม : 22 คน

ช่วงเวลาร่วมกิจกรรม : 4 – 5 กรกฏาคม 2561

ข้อสรุปที่ได้จากงานสัมมนา (ถ้ามี) : นักศึกษาให้ความสนใจและมีความพึงพอใจมากกว่าร้อยละ 80

ผลลัพธ์ที่ได้จากงานสัมมนา (ถ้ามี) : ความร่วมมือในทางวิชาการ งานวิจัย

Web link อ้างอิงการดำเนินงาน : https://www.facebook.com/Department-of-Social-and-Environmental-Medicine-169198077154424

ภาพประกอบ :

SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ : 3, 4, 12, 13, 17

TM_60th(ENG)_(A4)

The international seminar and research collaboration among Thailand, Korea and Laos PDR at the National University of Health Science,Vientiane

ชื่องาน : The international seminar and research collaboration among Thailand, Korea and Laos PDR at the National University of Health Science,Vientiane

ที่มาและความสำคัญ : ปัญหาหมอกควันข้ามแดน (Transboundary effect) ทำให้เกิดผลกระทบต่อคุณภาพอากาศ และสุขภาพของประชาชน

หัวข้อในการสัมนา : Haze and health Impact

สถานที่จัดงาน : National University of Health Science, Vientien Lao PDR

หน่วยงานที่ร่วมจัดงาน : วช มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เครืข่ายมหาวิทยาลัยวิจัยไทย หอการค้า กาท่องเที่ยวเชียงใหม่

บทบาทของหน่วยงาน : เป็นผู้จัดงาน และประสานความร่วมมือกับประเทศ สปป.ลาว

วัตถุประสงค์ของการจัดงาน : ให้เกิดความเข้าใจเรื่องการเกิดฝุ่นและผลกระทบต่อสุขภาพ

จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม : 70 คน

ช่วงเวลาร่วมกิจกรรม : 14 สิงหาคม 2561

ข้อสรุปที่ได้จากงานสัมมนา (ถ้ามี) : ความเข้าใจของหน่วยงานที่เข้าร่วมประชุมและทิศทางการจัดการในอนาคต

ผลลัพธ์ที่ได้จากงานสัมมนา (ถ้ามี) : ความร่วมมือในทางวิชาการ งานวิจัยระหว่างประเทศไทย สปป.ลาว เกาหลีใต้

Web link อ้างอิงการดำเนินงาน : https://www.facebook.com/Department-of-Social-and-Environmental-Medicine-169198077154424

ภาพประกอบ :

SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ : 3, 4, 13, 17

ss-011-01-20200825

ICERPH 2018 (The third International Conference on Environmental Risks and Public Health)

ชื่องานสัมมนา : ICERPH 2018 (The third International Conference on Environmental Risks and Public Health)

ที่มาและความสำคัญ : Environmental change and public health concern have been becoming a global issue for few decades. Most of it leaded by human activities. The recent rapid economic and industrial developments in Indonesia have resulted in increased pressures on the environment and bring impact to the public health. Urban development has also resulted in changes in land use that directly affects water resources and ecosystems which then generate a hazard a health. Surface water and soil in some areas have been contaminated with both organic and inorganic substances, air is polluted with chemicals emitted from vehicle and industrial facilities, these all directly affects public health.

หัวข้อในการสัมนา : Environmental Challenges and Global Health Impact

สถานที่จัดงาน : Harper Hotel, Makassar

หน่วยงานที่ร่วมจัดงาน : Department of Environmental Health, Faculty of Public Health, Hasanuddin University

บทบาทของหน่วยงาน : Invited speaker

วัตถุประสงค์ของการจัดงาน : The conference aims to provide a forum for the dissemination and exchange of information on the diverse aspects Environmental and public health science prospective.,Organize the international Conference for Environmental Health and Public Health

จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม :

ข้อสรุปที่ได้จากงานสัมมนา (ถ้ามี) : Networking and collaboration

ผลลัพธ์ที่ได้จากงานสัมมนา (ถ้ามี) : Research and education collaboration

Web link อ้างอิงการดำเนินงาน : http://icerph.unhas.ac.id/

ภาพประกอบ :

SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ : 3, 4, 6, 10, 11, 12, 13, 14, 15, 17

TM_60th(ENG)_(A4)

การแก้ไขปัญหาระบบคุณภาพน้ำประปาชุมชนเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน

ชื่องานสัมมนา : การแก้ไขปัญหาระบบคุณภาพน้ำประปาชุมชนเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน

ที่มาและความสำคัญ : ชุมชนในประเทศไทยประสบกับปัญหาคุณภาพน้ำประปาไม่ได้ มาตรฐาน ซึ่งส่งผลกระทบต่อการดํารงชีวิตของประชาชนส่วนใหญ่ เนื่องจากน้ำประปาถือเป็นระบบ สาธารณูปโภคที่มีความสําคัญที่สุดสําหรับการใช้ชีวิตประจําวัน ไม่ว่าจะเป็นการอุปโภคบริโภค การประกอบ อาหาร และการชําระล้างสิ่งสกปรก ซึ่งปัญหาคุณภาพน้ำประปาไม่ได้มาตรฐานสามารถเกิดขึ้นได้จากปัญหา และข้อจํากัดของระบบประปาเดิม

หัวข้อในการสัมนา : การแก้ไขปัญหาระบบคุณภาพน้ำประปาชุมชนเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน

สถานที่จัดงาน : สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาตร์

หน่วยงานที่ร่วมจัดงาน : ศูนย์วิจัยขีดความสามารถในการแข่งขันสำนักวิจัย สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

บทบาทของหน่วยงาน : ผู้ทรงคุณวุฒิ วิทยากร

วัตถุประสงค์ของการจัดงาน : ระบบคุณภาพน้ำประปาในชุมชน ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของโครงการภายใต้ยุทธศาสตร์ การบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ พ.ศ. ๒๕๕๘ – ๒๕๖๙ เพื่อสนับสนุนให้มีการแก้ไขปัญหาการขาดแคลนน้ำ อุปโภค บริโภค ด้วยการก่อสร้างและปรับปรุงเพิ่มประสิทธิภาพระบบประปาชุมชน ในปัจจุบัน ชุมชนหลาย ๆ ชุมชนในประเทศไทยประสบกับปัญหาคุณภาพน้ำประปาไม่ได้ มาตรฐาน ซึ่งส่งผลกระทบต่อการดํารงชีวิตของประชาชนส่วนใหญ่ เนื่องจากน้ำประปาถือเป็นระบบ สาธารณูปโภคที่มีความสําคัญที่สุดสําหรับการใช้ชีวิตประจําวัน ไม่ว่าจะเป็นการอุปโภคบริโภค การประกอบ อาหาร และการชําระล้างสิ่งสกปรก ซึ่งปัญหาคุณภาพน้ำประปาไม่ได้มาตรฐานสามารถเกิดขึ้นได้จากปัญหา และข้อจํากัดของระบบประปาเดิม ดังนี้

(๑) แหล่งน้ำดิบที่นํามาใช้ในระบบน้ำประปาเดิม ทั้งน้ำผิวดินและน้ำบาดาลจะพบสารแขวนลอยต่าง ๆ จํานวนมาก หากไม่มีการผ่านกระบวนการบําบัดก่อน

(๒) ท่อประปาที่จัดทําจากวัสดุเหล็กอาบสังกะสี หากระยะเวลาการใช้งาน นานเกิน อาจทําให้ท่อประปาคุณภาพเสื่อมลง ก่อให้เกิดเป็นสนิม ส่งผลให้น้ำประปามีคราบแดงจากตะกอน สนิมมาปะปนในน้ำ ทําให้น้ำไม่สะอาด มีสี มีกลิ่น และส่งผลกระทบต่อสุขภาพผู้ใช้

(๓) เครื่องสูบน้ำไม่ได้ มาตรฐานและไม่มีการออกแบบในเรื่องของตําแหน่งการติดตั้ง เช่น ในกรณีที่ติดตั้งเครื่องสูบน้ำที่สูบโดยตรง จากเส้นท่อ อาจดูดสิ่งสกปรกจากบริเวณใกล้เคียง ทําให้น้ำไม่สะอาด

(๔) เครื่องกรองน้ำที่ใช้งานมานานโดยไม่ ล้างหรือเปลี่ยนไส้กรอง อาจเป็นแหล่งสะสมเชื้อโรคและแบคทีเรียได้

(๕) ถังเก็บน้ำ หรือถังพักน้ำ หากไม่มีการ ล้างทําความสะอาด สิ่งมีชีวิตเล็ก ๆ เจือปนเข้าไปจะเจริญเติบโตเพิ่มพูนขึ้นเรื่อย ๆ ทั้งนี้ เพื่อการแก้ไขและพัฒนาระบบน้ำประปาและระบบสุขอนามัยของประชากรใน ประเทศไทย

จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม :

ข้อสรุปที่ได้จากงานสัมมนา (ถ้ามี) : สามารถนําไปเป็นข้อมูลให้หน่วยงานต่างๆ ที่ เกี่ยวข้องใช้ประโยชน์ และดําเนินการหาแนวทางแก้ไขระบบคุณภาพน้ำประปา ปรับเปลี่ยนระบบให้มีคุณภาพมาตรฐานตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขและมาตรฐานประปาขององค์การ อนามัยโลก (WHO) ที่สากลยอมรับต่อไป

ผลลัพธ์ที่ได้จากงานสัมมนา (ถ้ามี) :

Web link อ้างอิงการดำเนินงาน : https://www.facebook.com/610174812778566/photos/

ภาพประกอบ :

SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ : 3, 6, 17

TM_60th(ENG)_(A4)

การอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศด้านสาธารณสุข (19 – 21 พฤศจิกายน 2561)

ชื่องานสัมมนา : การอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศด้านสาธารณสุข

ที่มาและความสำคัญ : สาเหตุ แนวโน้ม และภาพสะท้อนอนาคต ของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

หัวข้อในการสัมนา : หลักสูตร : สำหรับเจ้าหน้าที่สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด รุ่นที่ 2

สถานที่จัดงาน : วันที่ 19 – 21 พฤศจิกายน 2561 ณ โรงแรม เอบีน่า เฮ้าส์ เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ

หน่วยงานที่ร่วมจัดงาน : กรมอนามัย และ สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ร่วมกับ องค์กรความร่วมมือระหว่างประเทศของเยอรมัน

บทบาทของหน่วยงาน : ภาค สาธารณสุข ในการเตรียมความพร้อมสําหรับ การป้องกันและรับมือกับความเสี่ยงด้านสุขภาพจากการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศ

วัตถุประสงค์ของการจัดงาน : climate change and Health Pathway

จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม : ประมาณ 40

ข้อสรุปที่ได้จากงานสัมมนา (ถ้ามี) : ภาคสาธารณสุข ต้องเตรียมการรองรับผลกระทบต่อสุขภาพ ทั้งด้านการปรับตัว (Adaptation) และสนับสนุนการลด ก๊าซเรือนกระจก (Mitigation) เพื่อลดและป้องกัน ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่จะเกิดขึ้น

ผลลัพธ์ที่ได้จากงานสัมมนา (ถ้ามี) :

Web link อ้างอิงการดำเนินงาน : http://hia.anamai.moph.go.th/mobile_detail.php?cid=14&nid=1901

ภาพประกอบ : http://hia.anamai.moph.go.th/mobile_detail.php?cid=14&nid=1901

SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ : 3, 4, 6, 7, 11, 13, 14, 15, 17