20220409-3m

การประเมินรับรองมาตรฐาน Bangkok GREEN & CLEAN Hospital Plus (BKKCG)

ชื่องาน : การประเมินรับรองมาตรฐาน Bangkok GREEN & CLEAN Hospital Plus (BKKCG)

ที่มาและความสำคัญ : ข้อมูลการดำเนินงานภายใต้ GREEN & CLEAN Hospital Plus (BKKCG) ขององค์กรขตร้อน คณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล  เข้ารับการประเมินเพื่อรับรองมาตรฐาน Bangkok GREEN & CLEAN Hospital Plus (BKKCG) โดยมี รองศาสตราจารย์ ดร.นพดล  ตั้งภักดี  รองผู้อำนวยการโรงพยาบาลเวชศาสตร์เขตร้อน  ให้การต้อนรับคณะกรรมการตรวจประเมินซึ่งประกอบไปด้วยผู้บริหารจากสำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร  ผู้แทนจากโรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร  ผู้แทนจากโรงพยาบาลในสังกัดกรมการแพทย์  กรมสุขภาพจิต  กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข  และผู้แทนจากสถาบันพัฒนาสุขภาวะเขตเมือง

หัวข้อในการสัมมนา : ข้อมูลการดำเนินงานภายใต้ GREEN & CLEAN Hospital Plus (BKKCG) ขององค์กร

สถานที่จัดงาน :ห้องประชุมดนัย บุนนาค ชั้น 6 อาคารราชนครินทร์  คณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล

บทบาทของหน่วยงาน : การตรวจประเมินโรงพยาบาลตามเกณฑ์มาตรฐาน Bangkok GREEN & CLEAN hospital Plus (BKKGC+) ในปีงบประมาณ พ.ศ.2562 มีผลประเมินระดับทอง (Gold) จากสถาบันพัฒนาสุขภาวะเขตเมือง กรมอนามัย

วัตถุประสงค์ของการจัดงาน : นำเสนอข้อมูลการดำเนินงานภายใต้ GREEN & CLEAN Hospital Plus (BKKCG) ขององค์กร  พร้อมนำคณะกรรมการฯ เยี่ยมสำรวจพื้นที่ตามประเด็นงาน GREEN

จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม : 17 คน

ช่วงเวลาที่จัดกิจกรรม : 19 มีนาคม 2564

ข้อสรุปที่ได้จากการจัดงาน(ถ้ามี) : ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจในการจัดการกิจกรรม ในระดับมากที่สุด

ผลลัพธ์ที่ได้จากการจัดงาน(ถ้ามี) : เกิดความร่วมมือทางด้านวิจัยและนวัตกรรม ระหว่างคณาจารย์ นักวิจัย และบุคลากรคณะเวชศาสตร์เขตร้อน กับทีมวิจัย CiRA Core

Web site/link : https://www.tm.mahidol.ac.th/th/th-news-event-view.php?news_id=5237

รูปภาพประกอบ :

SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ : 12

20220409-2m

ตรวจประเมินสำนักงานสีเขียว (Green Office)

ชื่องาน : ตรวจประเมินสำนักงานสีเขียว (Green Office)

ที่มาและความสำคัญ : คณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล และคณะกรรมการกำกับดูแลการบริหารสำนักงานสีเขียวของคณะเวชศาสตร์เขตร้อน ให้การต้อนรับผู้ตรวจประเมินสำนักงานสีเขียว (Green Office) จำนวน 4 ท่าน ได้แก่ ดร.มนูญ ใจซื่อ นายกิตติภูมิ พุ่มแดง นายธีระศักดิ์ ประคำเวช และนางศรีนวล สุขสด  ซึ่งคณะเวชศาสตร์เขตร้อน ได้ผ่านการคัดกรองเข้าร่วมโครงการส่งเสริมสำนักงานสีเขียว (Green Office) ในปี 2564 กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม

หัวข้อในการสัมมนา : คณะ ฯ ได้นำเสนอผลการดำเนินงานในภาพรวมครอบคลุมการดำเนินงานตามเกณฑ์ทั้ง 6 หมวด 23 ประเด็น จากนั้นผู้ตรวจประเมินสัมภาษณ์ผู้รับผิดชอบสำนักงานสีเขียวตามหมวด 1-6 ได้แก่ หมวดที่ 1 นโยบายวางแผนการดำเนินการและปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง หมวดที่ 2 การสื่อสารและสร้างจิตสำนึก หมวดที่ 3 การใช้ทรัพยากรและพลังงาน หมวดที่ 4 การจัดการของเสีย  หมวดที่ 5 สภาพแวดล้อมและความปลอดภัย และหมวดที่ 6 การจัดซื้อและจัดจ้าง

สถานที่จัดงาน : การตรวจประเมินจากระบบส่วนกลางในรูปแบบออนไลน์

บทบาทของหน่วยงาน : ปรับปรุงและพัฒนาการจัดการให้เป็นไปตามมาตรฐาน

วัตถุประสงค์ของการจัดงาน : ผู้ตรวจประเมินได้สรุปผลการประเมิน และให้ข้อเสนอแนะแก่คณะเวชศาสตร์เขตร้อน ในการจัดทำโครงการส่งเสริมสำนักงานสีเขียว (Green Office)

จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม :

ช่วงเวลาที่จัดกิจกรรม : 25 สิงหาคม 2564

ข้อสรุปที่ได้จากการจัดงาน(ถ้ามี) : – 

ผลลัพธ์ที่ได้จากการจัดงาน(ถ้ามี) : –

Web site/link : https://www.tm.mahidol.ac.th/th/th-news-event-view.php?news_id=5362

รูปภาพประกอบ :

SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ : 8, 12

12-05042022

โครงการวิเคราะห์โครงการตรวจวิเคราะห์วิตามินบี1 บี2 บี6

ชื่องาน : โครงการวิเคราะห์โครงการตรวจวิเคราะห์วิตามินบี1 บี2 บี6

ที่มาและความสำคัญ :โครงการบริการวิชาการของภาควิชาโภชนศาสตร์เขตร้อนและวิทยาศาสตร์อาหาร คณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล

หัวข้อในการสัมมนา :

สถานที่จัดงาน :

  • โรงพยาบาลเวชศาสตร์เขตร้อน คณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล
  • ห้องปฏิบัติการวิเคราะห์วิตามินบี1 บี2 บี6 ภาควิชาโภชนศาสตร์เขตร้อนและวิทยาศาสตร์อาหาร คณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล

บทบาทของหน่วยงาน :ให้บริการตรวจวิเคราะห์วิเคราะห์วิตามินบี1 บี2 บี6

วัตถุประสงค์ของการจัดงาน : บริการวิชาการ

จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม : 500-600 คน/ปี

ช่วงเวลาที่จัดกิจกรรม : วันและเวลาราชการ

ข้อสรุปที่ได้จากการจัดงาน(ถ้ามี) :หน่วยงานจากภายในและภายนอกให้ความสนใจและใช้บริการ

ผลลัพธ์ที่ได้จากการจัดงาน(ถ้ามี) : ความร่วมมือภายในหน่วยงาน โรงพยาบาล และหน่วยงานภายนอก

Web site/link :

รูปภาพประกอบ :

SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ : 2, 3, 4, 12, 17

09-05042022

โครงการวิเคราะห์หากรดโฟลิคในซีรั่มและเม็ดเลือดแดง

ชื่องาน :โครงการวิเคราะห์หากรดโฟลิคในซีรั่มและเม็ดเลือดแดง

ที่มาและความสำคัญ : โครงการบริการวิชาการของภาควิชาโภชนศาสตร์เขตร้อนและวิทยาศาสตร์อาหาร คณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล

หัวข้อในการสัมมนา :

สถานที่จัดงาน :

  • โรงพยาบาลเวชศาสตร์เขตร้อน คณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล
  • ห้องปฏิบัติการวิเคราะห์หากรดโฟลิคในซีรั่มและเม็ดเลือดแดง ภาควิชาโภชนศาสตร์เขตร้อนและวิทยาศาสตร์อาหาร คณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล

บทบาทของหน่วยงาน :ให้บริการตรวจวิเคราะห์หากรดโฟลิคในซีรั่มและเม็ดเลือดแดง

วัตถุประสงค์ของการจัดงาน : บริการวิชาการ

จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม : 500-600 คน/ปี

ช่วงเวลาที่จัดกิจกรรม : วันและเวลาราชการ

ข้อสรุปที่ได้จากการจัดงาน(ถ้ามี) :หน่วยงานจากภายในและภายนอกให้ความสนใจและใช้บริการ

ผลลัพธ์ที่ได้จากการจัดงาน(ถ้ามี) : ความร่วมมือภายในหน่วยงาน โรงพยาบาล และหน่วยงานภายนอก

Web site/link :

รูปภาพประกอบ :

SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ : 2, 3, 4, 12, 17

jitmm2020

Joint International Tropical Medicine Meeting 2020 (JITMM Virtual 2020)

ชื่องาน :  Joint International Tropical Medicine Meeting 2020 (JITMM Virtual 2020)

ที่มาและความสำคัญ : ความร่วมมือของคณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล ต่อองค์กรระหว่างประเทศ(WHO) และนานาชาติ
          The Joint International Tropical Medicine Meeting (JITMM) is the largest tropical-medicine conference in Southeast Asia. It aims to provide a platform for researchers and health practitioners from around the world to share and discuss the latest developments and trends in tropical medicine, global health, and infectious diseases. JITMM has been held annually for 25 years.
          On 15 December 2020, the opening ceremony, Assst Prof. Dr. Weerapong Phumiratanaprapin, Dean of Faculty of Tropical Medicine, Mahidol University and Chairperson of Organizing Committee commenced the program with the meeting report, followed by two welcoming addresses from Dr. Opas Karnkawinpong Director-General, Department of Disease Control The Ministry of Public Health, and Prof. Nicholas Day, Director of the Mahidol Oxford Tropical Medicine Research Unit, Thailand (MORU). The meeting is officially opened by Prof. Banchong Bahaisavariya, President of Mahidol University.
          Research Professor Dr. Jetsumon Prachumsri, Vice-chairperson of Organizing Committee introduced keynote speaker Dr. Tedros Adhanom Ghebreyesus , Director-General World Health Organization to deliver the 25th Chumlong-Tranakchit Harinhasuta Lecture.

หัวข้อในการสัมมนา :  “Tropical Disease Control amid the COVID-19 Pandemic”

สถานที่จัดงาน :  Virtual International conference

บทบาทของหน่วยงาน : เป็นผู้จัดงาน และมีทีมวิทยากร Share ในแต่ละ session แลกเปลี่ยนความรู้ การนำเสนองานวิจัยของบุคลากร และนักศึกษาของคณะ และร่วมแสดงความคิดเห็นกับนักวิจัยจากประเทศต่างๆ มีจำนวน มากกว่า 20 ห้องย่อย

วัตถุประสงค์ของการจัดงาน : แลกเปลี่ยนประสบการณ์ ผลงานวิจัย การแลกเปลี่ยนข้อมูลที่ทันสมัย การแสดงความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี การเพิ่มศักยภาพความร่วมมือเพิ่มมากขึ้น

จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม :  นักวิจัยจากทั่วโลก มากกว่า 800 คน

ช่วงเวลาที่จัดกิจกรรม :  15-16 ธันวาคม 2563

ข้อสรุปที่ได้จากงานสัมมนา(ถ้ามี) : การแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ด้านโรคเขตร้อน โดยเฉพาะการระบาดของโรคโคโรน่าไวรัส 2019 การได้ข้อมูลที่ทันสมัย เกี่ยวกับการรักษา ตัวยา พฤติกรรมของคน และอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องในการดูแลรักษาผู้ป่วยจากโรคเขตร้อน เป็นต้น

ผลลัพธ์ที่ได้จากการจัดงาน(ถ้ามี) : เพิ่มความสามารถในการวิจัย และความรู้ประสบการณ์ทางวิชาการ การขยายงานวิจัย การสร้างเครือข่ายระหว่างสมาชิก ที่เกี่ยวข้องกับ Tropical diseases

Web site/link :
www.jitmm.com
https://www.jitmm2020.com/

รูปภาพประกอบ :

SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ : 1, 2 , 3 , 4 ,17

20190619-4459-17-m

กิจกรรม “จิตอาสา’เขตร้อน ทำถุงรีไซเคิลใส่ยา”

ชื่องาน : กิจกรรม “จิตอาสา’เขตร้อน ทำถุงรีไซเคิลใส่ยา”

ที่มาและความสำคัญ : เพื่อเป็นการลดการใช้ถุงพลาสติก จึงได้จัดกิจกรรมนำกระดาษที่ไม่ใช้แล้วมาทำถุงใส่ยา เพื่อให้ผู้ป่วยที่มาใช้บริการ ใส่ยากลับบ้าน

บทบาทของหน่วยงาน : คณะกรรมการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม คณะเวชศาสตร์เขตร้อน

วัตถุประสงค์ในการจัดงาน : ลดการใช้ถุงพลาสติก ภายในคณะเวชศาสตร์เขตร้อน และเป็นการรณรงค์ทางอ้อมออกไปสู่ภายนอกคณะฯ ว่าเรานำสามารถนำสิ่งของมาใช้ซ้ำได้ก่อให้เกิดประโยชน์และเป็นการลดขยะอย่างหนึ่ง

จำนวนผู้เข้าร่วม : N/A

ช่วงเวลาที่จัด : 19 มิถุนายน 2562

ข้อสรุปที่จากการจัดงาน (ถ้ามี) :

ผลลัพธ์ที่ได้จากงานที่จัด (ถ้ามี) :

Website / Link : https://www.tm.mahidol.ac.th/th/th-news-event-view.php?news_id=4459

รูปภาพประกอบ :

SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ : 12, 14, 17

TM_60th(ENG)_(A4)

การประชุม Planning Meeting on Air Pollution Sensing and Health in Asia (ASHA) (Invitation Only)

ชื่องานสัมมนา : การประชุม Planning Meeting on Air Pollution Sensing and Health in Asia (ASHA) (Invitation Only)

ที่มาและความสำคัญ : ปัญหามลพิษอากาศและผลกระทบต่อสุภาพ ในภูมิภาคเอเชีย การตรวจวัดและการประเมินการรับสัมผัส

หัวข้อในการสัมนา : Air pollution is a global attention‐drawing issue because of its potential threats to human health, especially in Asia populated region. To integrate air pollution sensing technology and public health researches to evaluate the acute impacts of air pollution is an urgently needed approach. About 25 researchers from 13 countries will participate in the “Planning Meeting on Air Pollution Sensing and Health in Asia (ASHA)”to be held at Academia Sinica, Taipei, Taiwan on May 17‐19, 2019. The Planning Meeting on ASHA will be aiming at the methodology and facility of this regional interdisciplinary research project, to ensure the consistency for all the research teams involved to easily compare results among the research areas.

สถานที่จัดงาน : CITI Building, Academia Sinica, Taipei, Taiwan

หน่วยงานที่ร่วมจัดงาน : เป็นผู้ร่วมกิจกรรม

บทบาทของหน่วยงาน : แลกเปลี่ยนประสบการณ์ มลพิษอากาศ และผลกระทบต่อสุขภาพ

วัตถุประสงค์ของการจัดงาน : The Planning Meeting on ASHA will be aiming at the methodology and facility of this regional interdisciplinary research project, to ensure the consistency for all the research teams involved to easily compare results among the research areas.

จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม : ประมาณ 40 คน

ข้อสรุปที่ได้จากงานสัมมนา (ถ้ามี) : การพัฒนางานวิจัยร่วมกัน

ผลลัพธ์ที่ได้จากงานสัมมนา (ถ้ามี) : มีคณะทำงานและจับมือ พัฒนาโครงร่างงานวิจัยเพื่อขอทุนสนับสนุน

Web link อ้างอิงการดำเนินงาน : http://www.cfss.sinica.edu.tw/index.asp?url=304&cno=18&ano=61&pageno=

ภาพประกอบ :

SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ : 11, 12, 13, 15, 17

20190304-4281-10-m

การติดป้ายโครงการ “Save Energy Award” ให้แก่ผู้ได้รับรางวัล

ชื่องาน : การติดป้ายโครงการ “Save Energy Award” ให้แก่ผู้ได้รับรางวัล

ที่มาและความสำคัญ : เพื่อให้การประหยัดพลังงานไฟฟ้าของคณะเวชศาสตร์เขตร้อนลดลง จึงได้ให้แต่ละหน่วยงานแข่งขันกันลดการใช้ไฟฟ้า และมอบรางวัลให้กับหน่วยงานที่ใช้ไฟฟ้าน้อยที่สุด 3 รางวัล

บทบาทของหน่วยงาน : คณะกรรมการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม คณะเวชศาสตร์เขตร้อน

วัตถุประสงค์ในการจัดงาน : เพื่อเป็นการประหยัดพลังงานไฟฟ้าของคณะเวชศาสตร์เขตร้อน

จำนวนผู้เข้าร่วม : N/A

ช่วงเวลาที่จัด : N/A

ข้อสรุปที่จากการจัดงาน (ถ้ามี) : จะมีการติดตามผลของโครงการของคณะเวชศาสตร์เขตร้อนเป็นระยะ

ผลลัพธ์ที่ได้จากงานที่จัด (ถ้ามี) :

Website / Link : https://www.tm.mahidol.ac.th/th/th-news-event-view.php?news_id=4281

รูปภาพประกอบ :

SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ : 8, 12, 17

20190712-4499-24-m

การอบรม “โครงการปลูกจิตสำนึกและให้ความรู้ในการคัดแยกขยะ”

ชื่องาน : การอบรม “โครงการปลูกจิตสำนึกและให้ความรู้ในการคัดแยกขยะ”

ที่มาและความสำคัญ : เพื่อให้บุคลากรมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องในการทิ้งและคัดแยกขยะ รวมถึงเกิดความตระหนักรู้และเสริมสร้างพฤติกรรมการคัดแยกขยะมูลฝอยในหน่วยงาน และนำขยะไปใช้ประโยชน์ก่อนนำไปกำจัด

บทบาทของหน่วยงาน : คณะกรรมการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม คณะเวชศาสตร์เขตร้อน

วัตถุประสงค์ในการจัดงาน : เพื่อให้บุคลากรมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องในการทิ้งและคัดแยกขยะ

จำนวนผู้เข้าร่วม : N/A

ช่วงเวลาที่จัด : 12 กรกฎาคม 2562

ข้อสรุปที่จากการจัดงาน (ถ้ามี) :

ผลลัพธ์ที่ได้จากงานที่จัด (ถ้ามี) :

Website / Link : https://www.tm.mahidol.ac.th/th/th-news-event-view.php?news_id=4499

รูปภาพประกอบ :

SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ : 8, 12, 14, 17

TM_60th(ENG)_(A4)

Assessing the Health Impacts of Air Pollution in Thailand

ชื่องาน : Assessing the Health Impacts of Air Pollution in Thailand

คณะ / สาขา : เวชศาสตร์เขตร้อน / สิ่งแวดล้อมและสุขภาพ

ที่มาและความสำคัญ : ความร่วมมือของมหาวิทยาลัยมหิดล ต่อสถาบันการศึกษาในต่างประเทศในประเด็นปัญหาระดับชาติของประเทศ ศึกษาแนวทาง รูปแบบการประเมินภายใต้บริบทไทย

หัวข้อในการสัมนา : Basic System Thinking and System Dynamic Approach for Environmental Management

ขอบเขต / พื้นที่ศึกษา : มลพิษอากาศกับปัญหาสุขภาพ พื้นที่ประเทศไทยเจาะลึกที่กรุงทพมหานครและเชียงใหม่

บทบาทของหน่วยงาน : เป็นผู้จัดงาน และเป็นวิทยากรให้ความรู้ และการลงมือปฏิบัติ

แหล่งทุนสนับสนุน : สกสว (ไทย) และ NEWTON Fund(UK)

หน่วยงานที่ร่วมมือ : Institute of Occupational Medicine และ Heriot-Watt University แห่งสหราชอาณาจักร

ผู้มีส่วนได้เสีย : กรมควบคุมมลพิษ กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ และกรุงเทพมหานคร ภาครัฐ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ประชาชนทั่วไป นักวิชาการที่ทำวิจัยด้านนี้

ระดับความร่วมมือ : ระหว่างประเทศ

ผลลัพธ์ที่นำไปใช้ประโยชน์ : กำหนดมาตรการ ป้องกันมลพิษอากาศ การเฝ้าระวังสุขภาพ การวางแผนงานรับมือ/ตอบสนองต่อมลพิษอากาศ

Website / Link :
https://www.facebook.com/Department-of-Social-and-Environmental-Medicine
www.taphia.org

SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ : 3, 4, 12, 13, 17