100720214

18th Virtual International Training Course on Management of Malaria

ชื่องาน :  18th Virtual International Training Course on Management of Malaria

ที่มาและความสำคัญ : ความร่วมมือของคณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล ต่อองค์กรระหว่างประเทศ(WHO)
          Faculty of Tropical Medicine, Mahidol University as a WHO Collaborating Centre for Clinical Management of Malaria in collaboration with the World Health Organization Regional Office for South East Asia (WHO SEARO) organized 18th Virtual International Training Course on Management of Malaria on 23 – 27 November 2020. For this year, the training was held on online platform via Zoom Application. This training includes online multimedia presentation, online case discussion and experience sharing sessions between experts from the Faculty of Tropical Medicine, Mahidol University.
          The training aims to provide and update the participants about malaria current situation, diagnosis, treatment, management, prevention and control as well as sharing experiences among respective countries. There were 61 distinguished physicians, scientists and health experts from 12 respective countries attended the training virtually including Japan, Singapore, Malaysia, Nepal, Philippines, Indonesia, India, Maldives, Timor-Leste, Bangladesh, Bhutan and Thailand.

หัวข้อในการสัมมนา :  Malaria current situation, diagnosis, treatment and management,

สถานที่จัดงาน :  Online training course

บทบาทของหน่วยงาน : เป็นผู้จัดงาน และมีทีมวิทยากร แลกเปลี่ยนความรู้

วัตถุประสงค์ของการจัดงาน : เพิ่มศักยภาพความร่วมมือเพิ่มมากขึ้น

จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม :  นักวิจัยจาก 12 ประเทศ จำนวน 61 ท่าน ประกอบด้วย แพทย์ นักวิทยาศาสตร์ ผู้เชี่ยวชาญทางสุขภาพ จาก Japan, Singapore, Malaysia, Nepal, Philippines, Indonesia, India, Maldives, Timor-Leste, Bangladesh, Bhutan และ Thailand.

ช่วงเวลาที่จัดกิจกรรม :  23-27 พฤศจิกายน 2563

ข้อสรุปที่ได้จากงานสัมมนา(ถ้ามี) : การแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ด้านมาลาเรีย การได้ข้อมูลที่ทัยสมัย เกี่ยวกับการรักษา ตัวยา พฤติกรรมของคน และอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องในการดูแลรักษาผู้ป่วยมาลาเรียน การป้องกัน การกำจัดเชื้อมาลาเรีย

ผลลัพธ์ที่ได้จากการจัดงาน(ถ้ามี) : เพิ่มความสามารถในการวิจัย และความรู้ประสบการณ์ทางวิชาการ การขยายงานวิจัย

Web site/link : https://www.tm.mahidol.ac.th/eng/eng-news-event-view.php?news_id=5127

รูปภาพประกอบ :

SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ : 3 , 4 ,17

100720212

Training Program in Technology of Medicine and Public Health for Health Personnel from the Lao People’s Democratic Republic initiated by Her Royal Highness Princess Maha Chakri Sirindhorn

ชื่องาน :  Training Program in Technology of Medicine and Public Health for Health Personnel from the Lao People’s Democratic Republic initiated by Her Royal Highness Princess Maha Chakri Sirindhorn

ที่มาและความสำคัญ : ความร่วมมือของคณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล ต่อ ประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาว
          Faculty of Tropical Medicine, Mahidol University hosted “The Training Course on Tropical Medicine under the project initiated by Her Royal Highness Princess Maha Chakri Sirindhorn for doctors from Lao PDR during 1 February – 17 March 2021. Due to current COVID-19 pandemic situation, the training was held online via Zoom Application.

หัวข้อในการสัมมนา :  The Training Course on Tropical Medicine under the project initiated by Her Royal Highness Princess Maha Chakri Sirindhorn.

สถานที่จัดงาน :  Online training course

บทบาทของหน่วยงาน : เป็นผู้จัดงาน และมีทีมวิทยากร แลกเปลี่ยนความรู้ การให้คำปรึกษางานวิจัย

วัตถุประสงค์ของการจัดงาน : เพิ่มพูนความรู้ให้แก่ บุคลากรทางการแพทย์ แก่ สปป. ลาว และเพิ่มความร่วมมือทางงานวิจัยและวิชาการให้มากขึ้น

จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม :  มากกว่า 30 คน

ช่วงเวลาที่จัดกิจกรรม :  1 February – 17 March 2021.

ข้อสรุปที่ได้จากงานสัมมนา(ถ้ามี) : ร่างความร่วมมือ ระหว่างสองประเทศเกี่ยวกับงานพัฒนาการแพทย์และสาธารณสุข

ผลลัพธ์ที่ได้จากการจัดงาน(ถ้ามี) : ความร่วมมือในทางวิชาการ งานวิจัย

Web site/link : https://www.tm.mahidol.ac.th/eng/eng-news-event-view.php?news_id=5165

รูปภาพประกอบ :

SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ : 3 , 4 ,17

jitmm2020

Joint International Tropical Medicine Meeting 2020 (JITMM Virtual 2020)

ชื่องาน :  Joint International Tropical Medicine Meeting 2020 (JITMM Virtual 2020)

ที่มาและความสำคัญ : ความร่วมมือของคณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล ต่อองค์กรระหว่างประเทศ(WHO) และนานาชาติ
          The Joint International Tropical Medicine Meeting (JITMM) is the largest tropical-medicine conference in Southeast Asia. It aims to provide a platform for researchers and health practitioners from around the world to share and discuss the latest developments and trends in tropical medicine, global health, and infectious diseases. JITMM has been held annually for 25 years.
          On 15 December 2020, the opening ceremony, Assst Prof. Dr. Weerapong Phumiratanaprapin, Dean of Faculty of Tropical Medicine, Mahidol University and Chairperson of Organizing Committee commenced the program with the meeting report, followed by two welcoming addresses from Dr. Opas Karnkawinpong Director-General, Department of Disease Control The Ministry of Public Health, and Prof. Nicholas Day, Director of the Mahidol Oxford Tropical Medicine Research Unit, Thailand (MORU). The meeting is officially opened by Prof. Banchong Bahaisavariya, President of Mahidol University.
          Research Professor Dr. Jetsumon Prachumsri, Vice-chairperson of Organizing Committee introduced keynote speaker Dr. Tedros Adhanom Ghebreyesus , Director-General World Health Organization to deliver the 25th Chumlong-Tranakchit Harinhasuta Lecture.

หัวข้อในการสัมมนา :  “Tropical Disease Control amid the COVID-19 Pandemic”

สถานที่จัดงาน :  Virtual International conference

บทบาทของหน่วยงาน : เป็นผู้จัดงาน และมีทีมวิทยากร Share ในแต่ละ session แลกเปลี่ยนความรู้ การนำเสนองานวิจัยของบุคลากร และนักศึกษาของคณะ และร่วมแสดงความคิดเห็นกับนักวิจัยจากประเทศต่างๆ มีจำนวน มากกว่า 20 ห้องย่อย

วัตถุประสงค์ของการจัดงาน : แลกเปลี่ยนประสบการณ์ ผลงานวิจัย การแลกเปลี่ยนข้อมูลที่ทันสมัย การแสดงความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี การเพิ่มศักยภาพความร่วมมือเพิ่มมากขึ้น

จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม :  นักวิจัยจากทั่วโลก มากกว่า 800 คน

ช่วงเวลาที่จัดกิจกรรม :  15-16 ธันวาคม 2563

ข้อสรุปที่ได้จากงานสัมมนา(ถ้ามี) : การแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ด้านโรคเขตร้อน โดยเฉพาะการระบาดของโรคโคโรน่าไวรัส 2019 การได้ข้อมูลที่ทันสมัย เกี่ยวกับการรักษา ตัวยา พฤติกรรมของคน และอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องในการดูแลรักษาผู้ป่วยจากโรคเขตร้อน เป็นต้น

ผลลัพธ์ที่ได้จากการจัดงาน(ถ้ามี) : เพิ่มความสามารถในการวิจัย และความรู้ประสบการณ์ทางวิชาการ การขยายงานวิจัย การสร้างเครือข่ายระหว่างสมาชิก ที่เกี่ยวข้องกับ Tropical diseases

Web site/link :
www.jitmm.com
https://www.jitmm2020.com/

รูปภาพประกอบ :

SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ : 1, 2 , 3 , 4 ,17

TM_60th(ENG)_(A4)

การประชุม Planning Meeting on Air Pollution Sensing and Health in Asia (ASHA) (Invitation Only)

ชื่องานสัมมนา : การประชุม Planning Meeting on Air Pollution Sensing and Health in Asia (ASHA) (Invitation Only)

ที่มาและความสำคัญ : ปัญหามลพิษอากาศและผลกระทบต่อสุภาพ ในภูมิภาคเอเชีย การตรวจวัดและการประเมินการรับสัมผัส

หัวข้อในการสัมนา : Air pollution is a global attention‐drawing issue because of its potential threats to human health, especially in Asia populated region. To integrate air pollution sensing technology and public health researches to evaluate the acute impacts of air pollution is an urgently needed approach. About 25 researchers from 13 countries will participate in the “Planning Meeting on Air Pollution Sensing and Health in Asia (ASHA)”to be held at Academia Sinica, Taipei, Taiwan on May 17‐19, 2019. The Planning Meeting on ASHA will be aiming at the methodology and facility of this regional interdisciplinary research project, to ensure the consistency for all the research teams involved to easily compare results among the research areas.

สถานที่จัดงาน : CITI Building, Academia Sinica, Taipei, Taiwan

หน่วยงานที่ร่วมจัดงาน : เป็นผู้ร่วมกิจกรรม

บทบาทของหน่วยงาน : แลกเปลี่ยนประสบการณ์ มลพิษอากาศ และผลกระทบต่อสุขภาพ

วัตถุประสงค์ของการจัดงาน : The Planning Meeting on ASHA will be aiming at the methodology and facility of this regional interdisciplinary research project, to ensure the consistency for all the research teams involved to easily compare results among the research areas.

จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม : ประมาณ 40 คน

ข้อสรุปที่ได้จากงานสัมมนา (ถ้ามี) : การพัฒนางานวิจัยร่วมกัน

ผลลัพธ์ที่ได้จากงานสัมมนา (ถ้ามี) : มีคณะทำงานและจับมือ พัฒนาโครงร่างงานวิจัยเพื่อขอทุนสนับสนุน

Web link อ้างอิงการดำเนินงาน : http://www.cfss.sinica.edu.tw/index.asp?url=304&cno=18&ano=61&pageno=

ภาพประกอบ :

SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ : 11, 12, 13, 15, 17

SAMSUNG CSC

การฝึกอบรมด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในสาขาสาธารณสุข เพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านสาธารณสุข : หลักสูตรสำหรับเจ้าหน้าที่ส่วนกลางและศูนย์อนามัย

ชื่องาน : การฝึกอบรมด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในสาขาสาธารณสุข เพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านสาธารณสุข : หลักสูตรสำหรับเจ้าหน้าที่ส่วนกลางและศูนย์อนามัย

ที่มาและความสำคัญ : การเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศนั้นสามารถส่งผลกระทบได้รอบด้าน

บทบาทของหน่วยงาน : กรมอนามัย

วัตถุประสงค์ในการจัดงาน : การเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศนั้นสามารถส่งผลกระทบได้รอบด้านจึงควรคำนึงถึงเรื่องต่างๆ เช่น สุขภาพ

จำนวนผู้เข้าร่วม : N/A

ช่วงเวลาที่จัด : 10-12 ตุลาคม 2561

ข้อสรุปที่จากการจัดงาน (ถ้ามี) :

ผลลัพธ์ที่ได้จากงานที่จัด (ถ้ามี) :

Website / Link : http://hia.anamai.moph.go.th/ewtadmin/ewt/san/ewt_news.php?nid=1869

รูปภาพประกอบ :

SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ : 11, 16, 17

l_img_8810

การเสวนาเรื่อง “เรียนรู้และรับมือกับ PM 2.5 ด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ”

ชื่องาน : การเสวนาเรื่อง “เรียนรู้และรับมือกับ PM 2.5 ด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ”

ที่มาและความสำคัญ : ผลกระทบให้ประสิทธิภาพทางเศรษฐกิจ กระทบท่องเที่ยวลดลง โดยจะมีต้นทุนความเสียหายของมลพิษทางอากาศเกิดขึ้น

บทบาทของหน่วยงาน : สำนักปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

วัตถุประสงค์ในการจัดงาน : แนวทางเชิงนโยบายในการแก้ปัญหาและรับมือกับ PM 2.5 นําไปสู่การดําเนินงานที่เป็นรูปธรรม

จำนวนผู้เข้าร่วม : N/A

ช่วงเวลาที่จัด : 7 มีนาคม 2562

ข้อสรุปที่จากการจัดงาน (ถ้ามี) :

ผลลัพธ์ที่ได้จากงานที่จัด (ถ้ามี) :

Website / Link : https://www.mhesi.go.th/main/th/173-news/7961-pm

รูปภาพประกอบ :

SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ : 11, 17

TM_60th(ENG)_(A4)

“The built, natural, and social environments: impacts on exposures, health and well-being”

ชื่องาน : “The built, natural, and social environments: impacts on exposures, health and well-being”

ที่มาและความสำคัญ : ISES annual conferences are organized to promote an open exchange of new ideas across disciplines, and to provide a forum for broad interactions among participants. Everyone with an interest in exposure science is invited to participate and to take advantage of opportunities to present and learn about the latest research, discuss new insights, and interact with new and long-term colleagues

บทบาทของหน่วยงาน : Kaunas, Lithuania

วัตถุประสงค์ในการจัดงาน : ISES annual conferences are organized to promote an open exchange of new ideas across disciplines, and to provide a forum for broad interactions among participants. Everyone with an interest in exposure science is invited to participate and to take advantage of opportunities to present and learn about the latest research, discuss new insights, and interact with new and long-term colleagues

จำนวนผู้เข้าร่วม : N/A

ช่วงเวลาที่จัด : 16/08/2562-23/08/2562

ข้อสรุปที่จากการจัดงาน (ถ้ามี) :

ผลลัพธ์ที่ได้จากงานที่จัด (ถ้ามี) :

Website / Link : https://intlexposurescience.org/2019-meeting

รูปภาพประกอบ :

SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ : 11, 17

20190712-4499-24-m

การอบรม “โครงการปลูกจิตสำนึกและให้ความรู้ในการคัดแยกขยะ”

ชื่องาน : การอบรม “โครงการปลูกจิตสำนึกและให้ความรู้ในการคัดแยกขยะ”

ที่มาและความสำคัญ : เพื่อให้บุคลากรมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องในการทิ้งและคัดแยกขยะ รวมถึงเกิดความตระหนักรู้และเสริมสร้างพฤติกรรมการคัดแยกขยะมูลฝอยในหน่วยงาน และนำขยะไปใช้ประโยชน์ก่อนนำไปกำจัด

บทบาทของหน่วยงาน : คณะกรรมการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม คณะเวชศาสตร์เขตร้อน

วัตถุประสงค์ในการจัดงาน : เพื่อให้บุคลากรมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องในการทิ้งและคัดแยกขยะ

จำนวนผู้เข้าร่วม : N/A

ช่วงเวลาที่จัด : 12 กรกฎาคม 2562

ข้อสรุปที่จากการจัดงาน (ถ้ามี) :

ผลลัพธ์ที่ได้จากงานที่จัด (ถ้ามี) :

Website / Link : https://www.tm.mahidol.ac.th/th/th-news-event-view.php?news_id=4499

รูปภาพประกอบ :

SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ : 8, 12, 14, 17

20190808-4554-28-m

การอบรมเพิ่มพูนความรู้ด้านอนุรักษ์พลังงาน หัวข้อ “ปลูกจิตอนุรักษ์ ตระหนักใช้พลังงาน”

ชื่องาน : การอบรมเพิ่มพูนความรู้ด้านอนุรักษ์พลังงาน หัวข้อ “ปลูกจิตอนุรักษ์ ตระหนักใช้พลังงาน”

ที่มาและความสำคัญ : การกำเนิดพลังงาน พร้อมรณรงค์ปลุกจิตสำนึกการใช้พลังงาน และวิธีการจัดการกับพลังงานที่มีอยู่อย่างจำกัด

บทบาทของหน่วยงาน : คณะกรรมการอนุรักษ์พลังงาน คณะเวชศาสตร์เขตร้อน

วัตถุประสงค์ในการจัดงาน : เพื่อให้บุคลากรเกิดความรู้ ความเข้าใจในการใช้พลังงานและนำกลับไปใช้ได้

จำนวนผู้เข้าร่วม : N/A

ช่วงเวลาที่จัด : 8 สิงหาคม 2562

ข้อสรุปที่จากการจัดงาน (ถ้ามี) :

ผลลัพธ์ที่ได้จากงานที่จัด (ถ้ามี) :

Website / Link : https://www.tm.mahidol.ac.th/th/th-news-event-view.php?news_id=4554

รูปภาพประกอบ :

SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ : 8, 11, 17

noppalak-project-002

การพัฒนาทรัพยากรบุคคล โครงการนพลักษณ์

ชื่องาน : การพัฒนาทรัพยากรบุคคล โครงการนพลักษณ์

ที่มาและความสำคัญ : การเปลี่ยนแปลงของสังคมที่ซับซ้อน และการทำงานร่วมกันจากกลุ่มคนที่มีพื้นฐานที่แตกต่างกัน

บทบาทของหน่วยงาน : เป็นผู้จัดงาน ให้กับบุคลากรในทุกระดับ ทุกเพศ เพื่อให้เกิดความสมดุล และการรู้จักตนเอง

วัตถุประสงค์ของการจัดงาน : ให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรม มีความเข้าใจในความแตกต่างของบุคคลและรู้จักตนเองมากขึ้น

จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม : N/A

ช่วงเวลาที่จัดกิจกรรม : 20 – 21 สิงหาคม 2563

ข้อสรุปที่ได้จากงานสัมมนา (ถ้ามี) : ความเข้าใจในตนเองและผู้อื่น

ผลลัพธ์ที่ได้จากการจัดงาน(ถ้ามี) : การรู้จักตนเอง เพื่อทำงานในองค์กรอย่างมีความสุข

Website / Link : https://www.tm.mahidol.ac.th/th/th-news-event-view.php?news_id=4960

รูปภาพประกอบ :

SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ : 3, 5, 16