20220407-21

Training Program in Technology of Medicine and Public Health for Health Personnel from the Lao Peoples Democratic Republic initiated by Her Royal Highness Princess Maha Chakri Sirindhorn

ชื่องาน : Training Program in Technology of Medicine and Public Health for Health Personnel from the Lao Peoples Democratic Republic initiated by Her Royal Highness Princess Maha Chakri Sirindhorn

ที่มาและความสำคัญ : เพื่อเป็นการส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการระหว่างไทย และ สปป ลาว รวมทั้งการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกันทางด้านโรคเขตร้อน รวมทั้งการทำวิจัยที่เกี่ยวข้อง

หัวข้อในการสัมมนา : Training Program in Technology of Medicine and Public Health for Health Personnel from the Lao Peoples Democratic Republic initiated by Her Royal Highness Princess Maha Chakri Sirindhorn

สถานที่จัดงาน : คณะเวชศาสตร์เขตร้อน

บทบาทของหน่วยงาน : ผู้จัดงาน

วัตถุประสงค์ของการจัดงาน : เพื่อเป็นการส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการระหว่างไทย และ สปป ลาว รวมทั้งการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกันทางด้านโรคเขตร้อน รวมทั้งการทำวิจัยที่เกี่ยวข้อง

จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม : 5 คน

ช่วงเวลาที่จัดกิจกรรม : 1 กพ – 17 มีค 2564

ข้อสรุปที่ได้จากการจัดงาน(ถ้ามี) : ผู้เข้ารับการอบรมมีความพึงพอใจมากกว่าร้อยละ 85

ผลลัพธ์ที่ได้จากการจัดงาน(ถ้ามี) :มีการริเริ่มโครงการวิจัยเพื่อพัฒนากระบวนการสำรวจและดำเนินการด้านสุขภาพที่เกี่ยวข้องใน สปป ลาว

Web site/link : https://www.tm.mahidol.ac.th/eng/eng-news-event-view.php?news_id=5165

รูปภาพประกอบ :

SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ : 17

20220407-18

การฝึกอบรม Virtual International Training Course on Management of Malaria ครั้งที่ 19

ชื่องาน : การฝึกอบรม Virtual International Training Course on Management of Malaria ครั้งที่ 19

ที่มาและความสำคัญ : เพื่อเป็นการส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการระหว่างไทย และ สปป ลาว รวมทั้งการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกันทางด้านโรคเขตร้อน รวมทั้งการทำวิจัยที่เกี่ยวข้อง

หัวข้อในการสัมมนา : การฝึกอบรม Virtual International Training Course on Management of Malaria ครั้งที่ 19

สถานที่จัดงาน : คณะเวชศาสตร์เขตร้อน

บทบาทของหน่วยงาน : ผู้จัดงาน

วัตถุประสงค์ของการจัดงาน : เพื่อทบทวน และเพิ่มพูนองค์ความรู้ด้านโรคมาลาเรีย รวมถึงแบ่งปันประสบการณ์ระหว่างผู้เข้าร่วมฝึกอบรม

จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม : 31 คน

ช่วงเวลาที่จัดกิจกรรม :16-20 สิงหาคม 2564

ข้อสรุปที่ได้จากการจัดงาน(ถ้ามี) : ผู้เข้ารับการอบรมมีความพึงพอใจมากกว่าร้อยละ 85

ผลลัพธ์ที่ได้จากการจัดงาน(ถ้ามี) : 

Web site/link : https://www.tm.mahidol.ac.th/th/th-news-event-view.php?news_id=5367

รูปภาพประกอบ :

SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ : 17

20220409-3m

การประเมินรับรองมาตรฐาน Bangkok GREEN & CLEAN Hospital Plus (BKKCG)

ชื่องาน : การประเมินรับรองมาตรฐาน Bangkok GREEN & CLEAN Hospital Plus (BKKCG)

ที่มาและความสำคัญ : ข้อมูลการดำเนินงานภายใต้ GREEN & CLEAN Hospital Plus (BKKCG) ขององค์กรขตร้อน คณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล  เข้ารับการประเมินเพื่อรับรองมาตรฐาน Bangkok GREEN & CLEAN Hospital Plus (BKKCG) โดยมี รองศาสตราจารย์ ดร.นพดล  ตั้งภักดี  รองผู้อำนวยการโรงพยาบาลเวชศาสตร์เขตร้อน  ให้การต้อนรับคณะกรรมการตรวจประเมินซึ่งประกอบไปด้วยผู้บริหารจากสำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร  ผู้แทนจากโรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร  ผู้แทนจากโรงพยาบาลในสังกัดกรมการแพทย์  กรมสุขภาพจิต  กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข  และผู้แทนจากสถาบันพัฒนาสุขภาวะเขตเมือง

หัวข้อในการสัมมนา : ข้อมูลการดำเนินงานภายใต้ GREEN & CLEAN Hospital Plus (BKKCG) ขององค์กร

สถานที่จัดงาน :ห้องประชุมดนัย บุนนาค ชั้น 6 อาคารราชนครินทร์  คณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล

บทบาทของหน่วยงาน : การตรวจประเมินโรงพยาบาลตามเกณฑ์มาตรฐาน Bangkok GREEN & CLEAN hospital Plus (BKKGC+) ในปีงบประมาณ พ.ศ.2562 มีผลประเมินระดับทอง (Gold) จากสถาบันพัฒนาสุขภาวะเขตเมือง กรมอนามัย

วัตถุประสงค์ของการจัดงาน : นำเสนอข้อมูลการดำเนินงานภายใต้ GREEN & CLEAN Hospital Plus (BKKCG) ขององค์กร  พร้อมนำคณะกรรมการฯ เยี่ยมสำรวจพื้นที่ตามประเด็นงาน GREEN

จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม : 17 คน

ช่วงเวลาที่จัดกิจกรรม : 19 มีนาคม 2564

ข้อสรุปที่ได้จากการจัดงาน(ถ้ามี) : ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจในการจัดการกิจกรรม ในระดับมากที่สุด

ผลลัพธ์ที่ได้จากการจัดงาน(ถ้ามี) : เกิดความร่วมมือทางด้านวิจัยและนวัตกรรม ระหว่างคณาจารย์ นักวิจัย และบุคลากรคณะเวชศาสตร์เขตร้อน กับทีมวิจัย CiRA Core

Web site/link : https://www.tm.mahidol.ac.th/th/th-news-event-view.php?news_id=5237

รูปภาพประกอบ :

SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ : 12

20220407-14

การเยี่ยมชมวิทยาลัยนวัตกรรมการผลิตขั้นสูง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

ชื่องาน : การเยี่ยมชมวิทยาลัยนวัตกรรมการผลิตขั้นสูง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

ที่มาและความสำคัญ :

  • เพื่อสนับสนุนในการต่อยอดงานวิจัยของคณะเวชศาสตร์เขตร้อนให้เกิดเป็นนวัตกรรมหรือนำไปสู่เชิงพาณิชย์ได้ รวมถึงส่งเสริมและพัฒนาการบริหารจัดการเรื่องทรัพย์สินทางปัญญา
  • เพื่อศึกษาดูงานวิจัยที่สามารถต่อยอดสู่การเป็นนวัตกรรม และหารือในด้านความร่วมมือการต่อยอดงานวิจัยสู่นวัตกรรม

หัวข้อในการสัมมนา : การเยี่ยมชมวิทยาลัยนวัตกรรมการผลิตขั้นสูง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง นั้น ประกอบด้วย 2 ช่วง ได้แก่

  • การบรรยายต้อนรับจากวิทยาลัยนวัตกรรมการผลิตขั้นสูง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง เรื่อง การดำเนินงาน และผลงานวิจัยของทีมวิจัย CiRA Core
  • พูดคุยแลกเปลี่ยนข้อคิดเห็น ด้านความร่วมมือระหว่างคณะผู้วิจัยจากคณะเวชศาสตร์เขตร้อน และวิทยาลัยนวัตกรรมการผลิตขั้นสูง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
  • เยี่ยมชมบริเวณวิทยาลัยนวัตกรรมการผลิตขั้นสูง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

สถานที่จัดงาน : ห้องปฏิบัติการโครงการวิจัย CIRA CORE วิทยาลัยนวัตกรรมการผลิตขั้นสูง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

บทบาทของหน่วยงาน : เป็นผู้จัดงาน และผู้ประสานงานกิจกรรม

วัตถุประสงค์ของการจัดงาน : เพื่อศึกษาดูงานวิจัยที่สามารถต่อยอดสู่การเป็นนวัตกรรม และหารือในด้านความร่วมมือการต่อยอดงานวิจัยสู่นวัตกรรม

จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม : 18 คน

ช่วงเวลาที่จัดกิจกรรม : วันศุกร์ที่ 12 มีนาคม 2564 เวลา 09.00-12.00 น.

ข้อสรุปที่ได้จากการจัดงาน(ถ้ามี) : ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจในการจัดการกิจกรรม ในระดับมากที่สุด

ผลลัพธ์ที่ได้จากการจัดงาน(ถ้ามี) : เกิดความร่วมมือทางด้านวิจัยและนวัตกรรม ระหว่างคณาจารย์ นักวิจัย และบุคลากรคณะเวชศาสตร์เขตร้อน กับทีมวิจัย CiRA Core

Web site/link :

รูปภาพประกอบ :

SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ : 9

20220407-10

การบรรยายพิเศษเรื่อง “การสนับสนุนด้านนวัตกรรมและ Entrepreneurship” และ “การรับปรึกษาด้านการจัดการนวัตกรรม”

ชื่องาน : การบรรยายพิเศษเรื่อง “การสนับสนุนด้านนวัตกรรมและ Entrepreneurship” และ “การรับปรึกษาด้านการจัดการนวัตกรรม”

ที่มาและความสำคัญ : เพื่อสนับสนุนในการต่อยอดงานวิจัยของคณะให้เกิดเป็นนวัตกรรมหรือสามารถนำไปสู่เชิงพาณิชย์ รวมถึงส่งเสริมและพัฒนาการบริหารจัดการเรื่องทรัพย์สินทางปัญญา

หัวข้อในการสัมมนา : การบรรยายพิเศษเรื่อง “การสนับสนุนด้านนวัตกรรมและ Entrepreneurship” และ “การรับปรึกษาด้านการจัดการนวัตกรรม” นั้น ประกอบด้วย 2 ช่วง ได้แก่

  • การบรรยายพิเศษเรื่อง “การสนับสนุนด้านนวัตกรรมและ Entrepreneurship”
    โดย ศาสตราจารย์ ดร. นายแพทย์ภัทรชัย กีรติสิน ผู้อำนวยการสถาบันบริหารจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรม
  • การรับปรึกษาปัญหาด้านการจัดการนวัตกรรม และทรัพย์สินทางปัญญา

สถานที่จัดงาน : ห้องปฏิบัติการโครงการวิจัย CIRA CORE วิทยาลัยนวัตกรรมการผลิตขั้นสูง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

บทบาทของหน่วยงาน : เป็นผู้จัดงาน และผู้ประสานงานกิจกรรม

วัตถุประสงค์ของการจัดงาน : เพื่อให้ความรู้พื้นฐานกับ คณาจารย์ นักวิจัย และบุคลากรคณะเวชศาสตร์เขตร้อน

จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม : 25 คน

ช่วงเวลาที่จัดกิจกรรม : วันศุกร์ที่ 26 มีนาคม 2564 เวลา 9.00-12.00 น.

ข้อสรุปที่ได้จากการจัดงาน(ถ้ามี) : ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจในการจัดการบรรยายพิเศษ ในระดับมากที่สุด

ผลลัพธ์ที่ได้จากการจัดงาน(ถ้ามี) : บุคลากรมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการขอรับทรัพย์สินทางปัญญามากยิ่งขึ้น

Web site/link :

รูปภาพประกอบ :

SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ : 9

20220407-07

การบรรยายพิเศษเรื่อง “Agri for Wellbeing เกษตรหลังโควิด-19 ยั่งยืนด้วยการแพทย์”

ชื่องาน : การบรรยายพิเศษเรื่อง “Agri for Wellbeing เกษตรหลังโควิด-19 ยั่งยืนด้วยการแพทย์”

ที่มาและความสำคัญ : เพื่อให้บุคลากรคณะเวชศาสตร์เขตร้อน มีความรู้ความเข้าใจในการพัฒนางานวิจัยของตนเองให้ตอบสนองต่อความต้องการของสถาณการณ์ปัจจุบัน และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในงานวิจัยของตนเองได้

หัวข้อในการสัมมนา : การบรรยายพิเศษเรื่อง “Agri for Wellbeing เกษตรหลังโควิด-19 ยั่งยืนด้วยการแพทย์” นั้น ประกอบด้วย 3 ประเด็น ได้แก่

  • Commercial Research พลังซ้อนเร้นทางเศรษฐกิจจากงานวิจัยเพื่อตอบโจทย์ด้านสุขภาพ
  • ขับเคลื่อนพลังที่มีให้ถูกคน ถูกที่ ถูกเวลา
  • เทคโนโลยีเกษตรสุขภาพขับเคลื่อนผ่านมุมมองโลกยุคใหม่

สถานที่จัดงาน : ห้องประชุมประตาป สิงหศิวานนท์ อาคารราชนครินทร์

บทบาทของหน่วยงาน : เป็นผู้จัดงาน และผู้ประสานงานกิจกรรม

วัตถุประสงค์ของการจัดงาน : เพื่อให้ความรู้พื้นฐาน และตอบข้อสงสัยกับ คณาจารย์ นักวิจัย และบุคลากรคณะเวชศาสตร์เขตร้อน

จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม : 25 คน

ช่วงเวลาที่จัดกิจกรรม : วันพุธที่ 25 พฤศจิกายน 2563 เวลา 09.00-12.00 น.

ข้อสรุปที่ได้จากการจัดงาน(ถ้ามี) : ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจในการจัดการบรรยายพิเศษ ในระดับมากที่สุด 

ผลลัพธ์ที่ได้จากการจัดงาน(ถ้ามี) :เกิดความร่วมมือทางด้านวิจัยและนวัตกรรม ระหว่างคณาจารย์ นักวิจัย และบุคลากรคณะเวชศาสตร์เขตร้อน กับทีมผู้บรรยาย

Web site/link :

รูปภาพประกอบ :

SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ : 9

20220407-04

กรมควบคุมมลพิษ ได้เข้าตรวจสอบระบบบำบัดน้ำเสีย คณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล

ชื่องาน :กรมควบคุมมลพิษ ได้เข้าตรวจสอบระบบบำบัดน้ำเสีย คณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล

ที่มาและความสำคัญ : กรมควบคุมมลมลได้เข้าตรวจสอบระบบบำบัดน้ำเสียและการระบายน้ำทิ้งของคณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล

หัวข้อในการสัมมนา :

สถานที่จัดงาน : บริเวณอาคารเฉลิมพระเกียรติฯ 60ปี และอาคารสันต์สิริฯ ชั้น 1

บทบาทของหน่วยงาน : ปฏิบัติตามกฎหมายและเกณฑ์มาตรฐาน

วัตถุประสงค์ของการจัดงาน : เพื่อให้มีการพัฒนาการด้านการใช้น้ำของคณะฯ อย่างต่อเนื่องและมีมาตรฐาน

จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม :

ช่วงเวลาที่จัดกิจกรรม :

ข้อสรุปที่ได้จากการจัดงาน(ถ้ามี) : – 

ผลลัพธ์ที่ได้จากการจัดงาน(ถ้ามี) : –

Web site/link : –

รูปภาพประกอบ :

SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ : 6

20220409-2m

ตรวจประเมินสำนักงานสีเขียว (Green Office)

ชื่องาน : ตรวจประเมินสำนักงานสีเขียว (Green Office)

ที่มาและความสำคัญ : คณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล และคณะกรรมการกำกับดูแลการบริหารสำนักงานสีเขียวของคณะเวชศาสตร์เขตร้อน ให้การต้อนรับผู้ตรวจประเมินสำนักงานสีเขียว (Green Office) จำนวน 4 ท่าน ได้แก่ ดร.มนูญ ใจซื่อ นายกิตติภูมิ พุ่มแดง นายธีระศักดิ์ ประคำเวช และนางศรีนวล สุขสด  ซึ่งคณะเวชศาสตร์เขตร้อน ได้ผ่านการคัดกรองเข้าร่วมโครงการส่งเสริมสำนักงานสีเขียว (Green Office) ในปี 2564 กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม

หัวข้อในการสัมมนา : คณะ ฯ ได้นำเสนอผลการดำเนินงานในภาพรวมครอบคลุมการดำเนินงานตามเกณฑ์ทั้ง 6 หมวด 23 ประเด็น จากนั้นผู้ตรวจประเมินสัมภาษณ์ผู้รับผิดชอบสำนักงานสีเขียวตามหมวด 1-6 ได้แก่ หมวดที่ 1 นโยบายวางแผนการดำเนินการและปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง หมวดที่ 2 การสื่อสารและสร้างจิตสำนึก หมวดที่ 3 การใช้ทรัพยากรและพลังงาน หมวดที่ 4 การจัดการของเสีย  หมวดที่ 5 สภาพแวดล้อมและความปลอดภัย และหมวดที่ 6 การจัดซื้อและจัดจ้าง

สถานที่จัดงาน : การตรวจประเมินจากระบบส่วนกลางในรูปแบบออนไลน์

บทบาทของหน่วยงาน : ปรับปรุงและพัฒนาการจัดการให้เป็นไปตามมาตรฐาน

วัตถุประสงค์ของการจัดงาน : ผู้ตรวจประเมินได้สรุปผลการประเมิน และให้ข้อเสนอแนะแก่คณะเวชศาสตร์เขตร้อน ในการจัดทำโครงการส่งเสริมสำนักงานสีเขียว (Green Office)

จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม :

ช่วงเวลาที่จัดกิจกรรม : 25 สิงหาคม 2564

ข้อสรุปที่ได้จากการจัดงาน(ถ้ามี) : – 

ผลลัพธ์ที่ได้จากการจัดงาน(ถ้ามี) : –

Web site/link : https://www.tm.mahidol.ac.th/th/th-news-event-view.php?news_id=5362

รูปภาพประกอบ :

SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ : 8, 12

01-07042022

Academic Forum

ชื่องาน : Academic Forum

ที่มาและความสำคัญ : การเรียนรู้เกิดขึ้นทั้งภายในและนอกห้องเรียน การเรียนรู้ในระดับบัณฑิตศึกษามีความสำคัญอย่างยิ่งที่นักศึกษาในทุกหลักสูตรสามารถร่วมนำเสนอผลงาน ความคิดเห็น และ อภิปรายร่วมกันกับผู้อื่นได้ โครงการเวทีวิชาการมุ่งเน้นให้นักศึกษาทุกหลักสูตรมาร่วมทำกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้นอกห้องเรียน โดยนักศึกษาปี 2 จะได้ฝึกทักษะการจัดการกิจกรรมร่วมกันเป็นกลุ่ม ส่วนนักศึกษาปีอื่นๆจะมีโอกาสได้ฝึกการนำเสนอและสื่องานวิจัยได้อย่างชัดเจน เสนอและเปิดรับความเห็นทางวิชาการอย่างเป็นระบบและสร้างสรรค์ รวมถึงมีวิสัยทัศน์และเจตคติสำหรับงานวิจัยที่ถูกต้อง สร้างสัมพันธ์ที่ดีให้แก่นักศึกษา อาจารย์ นักวิจัย และเจ้าหน้าที่ทุกคนในคณะที่มาร่วมกิจกรรม

หัวข้อในการสัมมนา : Academic Forum

สถานที่จัดงาน : ผสมผสานระหว่าง Onsite และ online

บทบาทของหน่วยงาน : เป็นผู้วางแผนการดำเนินการ

วัตถุประสงค์ของการจัดงาน :

  • เพื่อให้นักศึกษาได้ฝึกการ Present และตอบคำถาม เกี่ยวกับการทำวิจัยเพื่อวิทยานิพนธ์/สารนิพนธ์ 
  • นักศึกษาฝึกวิธีการตั้งคำถาม
  • นักศึกษาฝึกการจัดการกิจกรรม เกิดความคิดสร้างสรรค์ในการเลือกกิจกรรม และรับผิดชอบร่วมกันเป็นชั้นปี

จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม : 80 – 100 คน

ช่วงเวลาที่จัดกิจกรรม : 2 ครั้งต่อปี

ข้อสรุปที่ได้จากการจัดงาน(ถ้ามี) : – 

ผลลัพธ์ที่ได้จากการจัดงาน(ถ้ามี) :

  • นักศึกษาจะได้รับความรู้ วิธี Present การตอบคำภาม และวิธีการดำเนินการทำวิจัยเพื่อวิทยานิพนธ์/สารนิพนธ์จากทุกหลักสูตรของคณะฯ
  • นักศึกษาได้รับข้อเสนอแนะในการทำวิจัยจากคณาจารย์
  • นักศึกษาได้ฝึกการประสานงานร่วมกัน
  • นักศึกษาได้มีโอกาสได้รู้จักเพื่อนใหม่ต่างหลักสูตรหรือชั้นปี

Web site/link : –

รูปภาพประกอบ :

SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ : 4

20210210-5178-29-m

คณะเวชศาสตร์เขตร้อน ร่วมแถลงข่าว “องค์การเภสัชกรรม (จีพีโอ) เตรียมศึกษาวิจัยวัคซีนป้องกันโรคโควิด-19 ชนิดเชื้อตายในมนุษย์ระยะที่ 1 เดือนมีนาคมนี้”

ชื่องาน : คณะเวชศาสตร์เขตร้อน ร่วมแถลงข่าว “องค์การเภสัชกรรม (จีพีโอ) เตรียมศึกษาวิจัยวัคซีนป้องกันโรคโควิด-19 ชนิดเชื้อตายในมนุษย์ระยะที่ 1 เดือนมีนาคมนี้”

ที่มาและความสำคัญ : คณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล ร่วมแถลงข่าว “องค์การเภสัชกรรม (จีพีโอ) เตรียมศึกษาวิจัยวัคซีนป้องกันโรคโควิด-19 ชนิดเชื้อตายในมนุษย์ระยะที่ 1 เดือนมีนาคมนี้

หัวข้อในการสัมมนา : สำหรับประเด็นสำคัญของการแถลงข่าว องค์การเภสัชกรรม (GPO) เผยผลวิจัยพัฒนาวัคซีนป้องกันโรคโควิด-19 ชนิดเชื้อตาย ซึ่งร่วมพัฒนากับพันธมิตรในต่างประเทศ ทดสอบในสัตว์ทดลองพบว่ากระตุ้นภูมิคุ้มกันได้ผลดีและมีความปลอดภัย  โดยร่วมกับคณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล เตรียมศึกษาวิจัยทางคลินิกในมนุษย์ระยะที่ 1 เดือนมีนาคมนี้  และจะผลิตในระดับอุตสาหกรรมด้วยเทคโนโลยีไข่ไก่ฟักที่ใช้ผลิตวัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ ที่โรงงานผลิตวัคซีนขององค์การเภสัชกรรมที่ตำบลทับกวาง อำเภอแก่งคอย จังหวัดสระบุรี ปีละประมาณ 25-30 ล้านโดส สร้างความมั่นคง การพึ่งพาตนเองด้านวัคซีนของประเทศไทย 

สถานที่จัดงาน : ห้องประชุมเฉลิมพระเกียรติ ชั้น 5 อาคารเฉลิมพระเกียรติ คณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล

บทบาทของหน่วยงาน : การให้ความสำคัญและการสนับสนุนการวิจัยวัคซีนในประเทศไทย

วัตถุประสงค์ของการจัดงาน :  การให้ความสำคัญและการสนับสนุนการวิจัยวัคซีนในประเทศไทย

จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม : 30 คน

ช่วงเวลาที่จัดกิจกรรม : วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2564

ข้อสรุปที่ได้จากการจัดงาน(ถ้ามี) : – 

ผลลัพธ์ที่ได้จากการจัดงาน(ถ้ามี) :

Web site/link : https://www.tm.mahidol.ac.th/th/th-news-event-view.php?news_id=5178

รูปภาพประกอบ :

SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ : 3