13072021-2

การเสวนาการเฝ้าระวังสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ กรณีโรงงานหมิงตี้ เคมีคอล ของสภาวิชาชีพวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม แห่งประเทศไทย

ชื่องาน : การเสวนาการเฝ้าระวังสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ กรณีโรงงานหมิงตี้ เคมีคอล ของสภาวิชาชีพวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม แห่งประเทศไทย

ที่มาและความสำคัญ : ความร่วมมือในฐานะเป็นวิทยากรของคณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล กับสภาวิชาชีพวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
การสรุปบทเรียน เพื่อเฝ้าระวังด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพจาก กรณีโรงงานเกิดอุบัติเหตุไฟไหม้สารเคมี

หัวข้อในการจัดกิจกรรม : การเสวนาการเฝ้าระวังสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ กรณีโรงงานหมิงตี้ เคมีคอล

สถานที่จัดงาน : Online

บทบาทของหน่วยงาน : เป็นผู้วิทยากร

วัตถุประสงค์ของการจัดงาน : ถ่ายทอดความรู้ให้แก่ บุคลากรทั่วไป

จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม : มากกว่า 450 คน

ช่วงเวลาที่จัดกิจกรรม : 8 กรกฎาคม 2564

ข้อสรุปที่ได้จากการจัดงาน(ถ้ามี) : แนวทางการปฏิบัติตัวของประชาชทั่วไป 

ผลลัพธ์ที่ได้จากการจัดงาน(ถ้ามี) : ความร่วมมือในทางวิชาการ การนำข้อมูลไปเผยแพร่ต่อสาธารณชน

Web site/link : https://www.cstp.or.th/#!/newsView/200

รูปภาพประกอบ :

SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ : 3 , 4 ,6 ,9 ,11 ,13, 14 ,17

TM_60th(ENG)_(A4)

การประชุม Planning Meeting on Air Pollution Sensing and Health in Asia (ASHA) (Invitation Only)

ชื่องานสัมมนา : การประชุม Planning Meeting on Air Pollution Sensing and Health in Asia (ASHA) (Invitation Only)

ที่มาและความสำคัญ : ปัญหามลพิษอากาศและผลกระทบต่อสุภาพ ในภูมิภาคเอเชีย การตรวจวัดและการประเมินการรับสัมผัส

หัวข้อในการสัมนา : Air pollution is a global attention‐drawing issue because of its potential threats to human health, especially in Asia populated region. To integrate air pollution sensing technology and public health researches to evaluate the acute impacts of air pollution is an urgently needed approach. About 25 researchers from 13 countries will participate in the “Planning Meeting on Air Pollution Sensing and Health in Asia (ASHA)”to be held at Academia Sinica, Taipei, Taiwan on May 17‐19, 2019. The Planning Meeting on ASHA will be aiming at the methodology and facility of this regional interdisciplinary research project, to ensure the consistency for all the research teams involved to easily compare results among the research areas.

สถานที่จัดงาน : CITI Building, Academia Sinica, Taipei, Taiwan

หน่วยงานที่ร่วมจัดงาน : เป็นผู้ร่วมกิจกรรม

บทบาทของหน่วยงาน : แลกเปลี่ยนประสบการณ์ มลพิษอากาศ และผลกระทบต่อสุขภาพ

วัตถุประสงค์ของการจัดงาน : The Planning Meeting on ASHA will be aiming at the methodology and facility of this regional interdisciplinary research project, to ensure the consistency for all the research teams involved to easily compare results among the research areas.

จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม : ประมาณ 40 คน

ข้อสรุปที่ได้จากงานสัมมนา (ถ้ามี) : การพัฒนางานวิจัยร่วมกัน

ผลลัพธ์ที่ได้จากงานสัมมนา (ถ้ามี) : มีคณะทำงานและจับมือ พัฒนาโครงร่างงานวิจัยเพื่อขอทุนสนับสนุน

Web link อ้างอิงการดำเนินงาน : http://www.cfss.sinica.edu.tw/index.asp?url=304&cno=18&ano=61&pageno=

ภาพประกอบ :

SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ : 11, 12, 13, 15, 17

TM_60th(ENG)_(A4)

โครงการ Solar Rooftop

ชื่องาน : โครงการ Solar Rooftop

ที่มาและความสำคัญ : เพื่อให้เกิดการลดใช้พลังงานไฟฟ้า เป็นการประหยัดค่าไฟของคณะฯ

บทบาทของหน่วยงาน : คณะเวชศาสตร์เขตร้อน

วัตถุประสงค์ของการจัดงาน : เพื่อให้เกิดการเปลี่ยนจากแสงอาทิตย์มาเป็นพลังงานไฟฟ้าแทน

จำนวนผู้เข้าร่วม : N/A

ช่วงเวลาที่จัด : 3 ธันวาคม 2562

ข้อสรุปที่จากการจัดงาน (ถ้ามี) :

ผลลัพธ์ที่ได้จากงานที่จัด (ถ้ามี) : คณะฯ ประหยัดพลังงานค่าไฟฟ้าไปบางส่วน

Website / Link :

รูปภาพประกอบ :

SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ : 7, 13, 17

TM_60th(ENG)_(A4)

โครงการวิจัยยุงพาหะนำโรคไข้มาลาเรีย

ชื่องาน : โครงการวิจัยยุงพาหะนำโรคไข้มาลาเรีย

ที่มาและความสำคัญ : ศึกษาชีววิทยาของยุงพาหะในพื้นที่ที่มีการระบาดของไข้มาลาเรีย ในประเทศไทยเพื่อการวางแผนกลยุทธการควบคุมยุงพาหะไข้มาลาเรีย และสู่การกำจัดไข้มาลาเรีย

หัวข้อ : การศึกษาชีววิทยาของยุงพาหะในพื้นที่ที่มีการระบาดของไข้มาลาเรียในประเทศไทย

สถานที่จัดงาน : จ. ตาก ยะลา นราธิวาส ราชบุรี อุบลราชธานี

หน่วยงานที่ร่วมจัดงาน : สำนักงานควบคุมโรคนำโดยแมลงที่ 5 12 และ ศูนย์ควบคุมโรคติดต่อนำโดยแมลงที่ 9.3 (แม่สอด) – จังหวัดตาก

บทบาทของหน่วยงาน : ร่วมดำเนินงานวิจัยและเฝ้าระวังยุงพาหะไข้มาลาเรีย และทดสอบการดื้อยาของยุง

วัตถุประสงค์ในการจัดงาน :
1. เพื่อศึกษาโครงสร้างของประชากรยุงพาหะนา โรคไข้มาลาเรียในพืน้ ที่ระบาด
2. เพื่อศึกษาพันธุศาสตร์ประชากรของยุงพาหะนาโรคไข้มาลาเรียในประเทศไทยที่จับมาด้วยวิธีการที่ต่างกัน
3. เพื่อศึกษาและประเมินยีนเป้าหมาย ที่ตอบสนองต่อการเลือกและหาเหยื่อเพื่อกินเลือดของยุงพาหะนาโรคไข้มาลาเรีย
4. เพื่อประเมินพลวัตของการระบาดของโรคไข้มาลาเรียในพื้นที่ในประเทศไทย

จำนวนผู้เข้าร่วม :

ช่วงเวลาที่จัด : ปี 2554-2560 และปี year 2062-2566

ข้อสรุปที่จากการจัดงาน (ถ้ามี) : เอกสารรายงานผลงานวิจัยสู่ชุมชน

ผลลัพธ์ที่ได้จากงานที่จัด (ถ้ามี) : Malaria Vector part in Thailand 2020

Website / Link : https://www.icemr-sea.org

รูปภาพประกอบ : https://www.icemr-sea.org/entomology

SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ : 3, 7, 11, 13

TM_60th(ENG)_(A4)

Assessing the Health Impacts of Air Pollution in Thailand

ชื่องาน : Assessing the Health Impacts of Air Pollution in Thailand

คณะ / สาขา : เวชศาสตร์เขตร้อน / สิ่งแวดล้อมและสุขภาพ

ที่มาและความสำคัญ : ความร่วมมือของมหาวิทยาลัยมหิดล ต่อสถาบันการศึกษาในต่างประเทศในประเด็นปัญหาระดับชาติของประเทศ ศึกษาแนวทาง รูปแบบการประเมินภายใต้บริบทไทย

หัวข้อในการสัมนา : Basic System Thinking and System Dynamic Approach for Environmental Management

ขอบเขต / พื้นที่ศึกษา : มลพิษอากาศกับปัญหาสุขภาพ พื้นที่ประเทศไทยเจาะลึกที่กรุงทพมหานครและเชียงใหม่

บทบาทของหน่วยงาน : เป็นผู้จัดงาน และเป็นวิทยากรให้ความรู้ และการลงมือปฏิบัติ

แหล่งทุนสนับสนุน : สกสว (ไทย) และ NEWTON Fund(UK)

หน่วยงานที่ร่วมมือ : Institute of Occupational Medicine และ Heriot-Watt University แห่งสหราชอาณาจักร

ผู้มีส่วนได้เสีย : กรมควบคุมมลพิษ กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ และกรุงเทพมหานคร ภาครัฐ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ประชาชนทั่วไป นักวิชาการที่ทำวิจัยด้านนี้

ระดับความร่วมมือ : ระหว่างประเทศ

ผลลัพธ์ที่นำไปใช้ประโยชน์ : กำหนดมาตรการ ป้องกันมลพิษอากาศ การเฝ้าระวังสุขภาพ การวางแผนงานรับมือ/ตอบสนองต่อมลพิษอากาศ

Website / Link :
https://www.facebook.com/Department-of-Social-and-Environmental-Medicine
www.taphia.org

SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ : 3, 4, 12, 13, 17

TM_60th(ENG)_(A4)

International Training course

ชื่องาน : International Training course

ที่มาและความสำคัญ : ความร่วมมือของมหาวิทยาลัยมหิดล ต่อสถาบันการศึกษาในต่างประเทศ

หัวข้อในการสัมนา : Basic System Thinking and System Dynamic Approach for Environmental Management

สถานที่จัดงาน : อาคารราชนครินทร์ คณะเวชศาสตร์เขตร้อน

หน่วยงานที่ร่วมจัดงาน : วช มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เครืข่ายมหาวิทยาลัยวิจัยไทย หอการค้า กาท่องเที่ยวเชียงใหม่

บทบาทของหน่วยงาน : เป็นผู้จัดงานและวิทยากรให้ความรู้และการลงมือปฏิบัติ

วัตถุประสงค์ของการจัดงาน : ให้ความรู้พื้นฐานกับ คณาจารย์ และนักศึกษาระดัง ปริญญาโท

จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม : 22 คน

ช่วงเวลาร่วมกิจกรรม : 4 – 5 กรกฏาคม 2561

ข้อสรุปที่ได้จากงานสัมมนา (ถ้ามี) : นักศึกษาให้ความสนใจและมีความพึงพอใจมากกว่าร้อยละ 80

ผลลัพธ์ที่ได้จากงานสัมมนา (ถ้ามี) : ความร่วมมือในทางวิชาการ งานวิจัย

Web link อ้างอิงการดำเนินงาน : https://www.facebook.com/Department-of-Social-and-Environmental-Medicine-169198077154424

ภาพประกอบ :

SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ : 3, 4, 12, 13, 17

TM_60th(ENG)_(A4)

The international seminar and research collaboration among Thailand, Korea and Laos PDR at the National University of Health Science,Vientiane

ชื่องาน : The international seminar and research collaboration among Thailand, Korea and Laos PDR at the National University of Health Science,Vientiane

ที่มาและความสำคัญ : ปัญหาหมอกควันข้ามแดน (Transboundary effect) ทำให้เกิดผลกระทบต่อคุณภาพอากาศ และสุขภาพของประชาชน

หัวข้อในการสัมนา : Haze and health Impact

สถานที่จัดงาน : National University of Health Science, Vientien Lao PDR

หน่วยงานที่ร่วมจัดงาน : วช มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เครืข่ายมหาวิทยาลัยวิจัยไทย หอการค้า กาท่องเที่ยวเชียงใหม่

บทบาทของหน่วยงาน : เป็นผู้จัดงาน และประสานความร่วมมือกับประเทศ สปป.ลาว

วัตถุประสงค์ของการจัดงาน : ให้เกิดความเข้าใจเรื่องการเกิดฝุ่นและผลกระทบต่อสุขภาพ

จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม : 70 คน

ช่วงเวลาร่วมกิจกรรม : 14 สิงหาคม 2561

ข้อสรุปที่ได้จากงานสัมมนา (ถ้ามี) : ความเข้าใจของหน่วยงานที่เข้าร่วมประชุมและทิศทางการจัดการในอนาคต

ผลลัพธ์ที่ได้จากงานสัมมนา (ถ้ามี) : ความร่วมมือในทางวิชาการ งานวิจัยระหว่างประเทศไทย สปป.ลาว เกาหลีใต้

Web link อ้างอิงการดำเนินงาน : https://www.facebook.com/Department-of-Social-and-Environmental-Medicine-169198077154424

ภาพประกอบ :

SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ : 3, 4, 13, 17

ss-011-01-20200825

ICERPH 2018 (The third International Conference on Environmental Risks and Public Health)

ชื่องานสัมมนา : ICERPH 2018 (The third International Conference on Environmental Risks and Public Health)

ที่มาและความสำคัญ : Environmental change and public health concern have been becoming a global issue for few decades. Most of it leaded by human activities. The recent rapid economic and industrial developments in Indonesia have resulted in increased pressures on the environment and bring impact to the public health. Urban development has also resulted in changes in land use that directly affects water resources and ecosystems which then generate a hazard a health. Surface water and soil in some areas have been contaminated with both organic and inorganic substances, air is polluted with chemicals emitted from vehicle and industrial facilities, these all directly affects public health.

หัวข้อในการสัมนา : Environmental Challenges and Global Health Impact

สถานที่จัดงาน : Harper Hotel, Makassar

หน่วยงานที่ร่วมจัดงาน : Department of Environmental Health, Faculty of Public Health, Hasanuddin University

บทบาทของหน่วยงาน : Invited speaker

วัตถุประสงค์ของการจัดงาน : The conference aims to provide a forum for the dissemination and exchange of information on the diverse aspects Environmental and public health science prospective.,Organize the international Conference for Environmental Health and Public Health

จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม :

ข้อสรุปที่ได้จากงานสัมมนา (ถ้ามี) : Networking and collaboration

ผลลัพธ์ที่ได้จากงานสัมมนา (ถ้ามี) : Research and education collaboration

Web link อ้างอิงการดำเนินงาน : http://icerph.unhas.ac.id/

ภาพประกอบ :

SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ : 3, 4, 6, 10, 11, 12, 13, 14, 15, 17

TM_60th(ENG)_(A4)

การอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศด้านสาธารณสุข (19 – 21 พฤศจิกายน 2561)

ชื่องานสัมมนา : การอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศด้านสาธารณสุข

ที่มาและความสำคัญ : สาเหตุ แนวโน้ม และภาพสะท้อนอนาคต ของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

หัวข้อในการสัมนา : หลักสูตร : สำหรับเจ้าหน้าที่สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด รุ่นที่ 2

สถานที่จัดงาน : วันที่ 19 – 21 พฤศจิกายน 2561 ณ โรงแรม เอบีน่า เฮ้าส์ เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ

หน่วยงานที่ร่วมจัดงาน : กรมอนามัย และ สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ร่วมกับ องค์กรความร่วมมือระหว่างประเทศของเยอรมัน

บทบาทของหน่วยงาน : ภาค สาธารณสุข ในการเตรียมความพร้อมสําหรับ การป้องกันและรับมือกับความเสี่ยงด้านสุขภาพจากการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศ

วัตถุประสงค์ของการจัดงาน : climate change and Health Pathway

จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม : ประมาณ 40

ข้อสรุปที่ได้จากงานสัมมนา (ถ้ามี) : ภาคสาธารณสุข ต้องเตรียมการรองรับผลกระทบต่อสุขภาพ ทั้งด้านการปรับตัว (Adaptation) และสนับสนุนการลด ก๊าซเรือนกระจก (Mitigation) เพื่อลดและป้องกัน ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่จะเกิดขึ้น

ผลลัพธ์ที่ได้จากงานสัมมนา (ถ้ามี) :

Web link อ้างอิงการดำเนินงาน : http://hia.anamai.moph.go.th/mobile_detail.php?cid=14&nid=1901

ภาพประกอบ : http://hia.anamai.moph.go.th/mobile_detail.php?cid=14&nid=1901

SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ : 3, 4, 6, 7, 11, 13, 14, 15, 17

ss-008-01-20200825

การอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศด้านสาธารณสุข

ชื่องานสัมมนา : การอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศด้านสาธารณสุข

ที่มาและความสำคัญ : บุคลากรทางสาธารณสุข ยังขาดองค์ความรู้ในการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพจากสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศ และผลกระทบต่อสุขภาพ รวมถึงปัญหามลพิษอากาศ

หัวข้อในการสัมนา : หลักสูตร : สำหรับเจ้าหน้าที่ของกระทรวงสาธารณสุข (ส่วนกลาง) สำนักงานอนามัยสิ่งแวดล้อม ในพื้นที่ รุ่นที่ 1

สถานที่จัดงาน : ระหว่างวันที่ 12 – 14 พฤศจิกายน 2561 ณ โรงแรมเบสท์เวสเทิร์นพลัส แวนด้าแกรนด์ แจ้งวัฒนะ อำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี

หน่วยงานที่ร่วมจัดงาน : กรมอนามัย และ สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ร่วมกับ องค์กรความร่วมมือระหว่างประเทศของเยอรมัน

บทบาทของหน่วยงาน : วิทยากรให้ความรู้ จัดอบรม

วัตถุประสงค์ของการจัดงาน :
– เพื่อสร้างความเข้าใจต่อความหมาย สาเหตุ แนวโน้ม และผลกระทบด้านสุขภาพของ สภาพอากาศและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ รวมถึงมาตรการแก้ไขและการ ปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

– เพื่อสร้างความเข้าใจถึงผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศต่อสุขภาพ และการปรับตัวเพื่อลดความเสี่ยงต่อสุขภาพและลดผลกระทบ

– เพื่อสร้างความเข้าใจต่อการประเมินความเสี่ยงต่อสุขภาพและผลกระทบจากการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

– เพื่อสร้างความเข้าใจต่อหลักการจัดการและการสื่อสารความเสี่ยง ผ่านกรณีศึกษาใน ประเทศไทย

– เพื่อสร้างความเข้าใจต่อนโยบายและแผนด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ในระดับ โลก ระดับประเทศ และในสาขาสาธารณสุข

– เพื่อสามารถพัฒนาและนําเสนอแนวทางการบูรณาการแผนการปรับตัวต่อการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศด้านสาธารณสุขในระดับชาติและระดับจังหวัด

จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม : เป้าหมาย 40

ข้อสรุปที่ได้จากงานสัมมนา (ถ้ามี) : เป็นโอกาสในการพัฒนาความรู้ความเข้าใจของเจ้าหน้าที่สาธารณสุข การปรับตัวต่อการขับเคลื่อนงานแบบบูรณาการข้ามภาคส่วน รวมทั้งสามารถประยุกต์ใช้ในการดำเนินงานระดับพื้นที่ ภายใต้แผนการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศด้านสาธารณสุขได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ผลลัพธ์ที่ได้จากงานสัมมนา (ถ้ามี) : เจ้าหน้าที่สํานักงานสาธารณสุขจังหวัด สามารถบูรณาการแผนหรือกิจกรรม การปรับตัวต่อ CC ในระดับส่วนกลางและพื้นที่

Web link อ้างอิงการดำเนินงาน : http://hia.anamai.moph.go.th/ewt_news.php?nid=1872&filename=index

ภาพประกอบ :

SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ : 3, 10, 11, 12, 13, 14, 15, 17