TM_60th(ENG)_(A4)

The international seminar and research collaboration among Thailand, Korea and Laos PDR at the National University of Health Science,Vientiane

ชื่องาน : The international seminar and research collaboration among Thailand, Korea and Laos PDR at the National University of Health Science,Vientiane

ที่มาและความสำคัญ : ปัญหาหมอกควันข้ามแดน (Transboundary effect) ทำให้เกิดผลกระทบต่อคุณภาพอากาศ และสุขภาพของประชาชน

หัวข้อในการสัมนา : Haze and health Impact

สถานที่จัดงาน : National University of Health Science, Vientien Lao PDR

หน่วยงานที่ร่วมจัดงาน : วช มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เครืข่ายมหาวิทยาลัยวิจัยไทย หอการค้า กาท่องเที่ยวเชียงใหม่

บทบาทของหน่วยงาน : เป็นผู้จัดงาน และประสานความร่วมมือกับประเทศ สปป.ลาว

วัตถุประสงค์ของการจัดงาน : ให้เกิดความเข้าใจเรื่องการเกิดฝุ่นและผลกระทบต่อสุขภาพ

จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม : 70 คน

ช่วงเวลาร่วมกิจกรรม : 14 สิงหาคม 2561

ข้อสรุปที่ได้จากงานสัมมนา (ถ้ามี) : ความเข้าใจของหน่วยงานที่เข้าร่วมประชุมและทิศทางการจัดการในอนาคต

ผลลัพธ์ที่ได้จากงานสัมมนา (ถ้ามี) : ความร่วมมือในทางวิชาการ งานวิจัยระหว่างประเทศไทย สปป.ลาว เกาหลีใต้

Web link อ้างอิงการดำเนินงาน : https://www.facebook.com/Department-of-Social-and-Environmental-Medicine-169198077154424

ภาพประกอบ :

SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ : 3, 4, 13, 17

ss-011-01-20200825

ICERPH 2018 (The third International Conference on Environmental Risks and Public Health)

ชื่องานสัมมนา : ICERPH 2018 (The third International Conference on Environmental Risks and Public Health)

ที่มาและความสำคัญ : Environmental change and public health concern have been becoming a global issue for few decades. Most of it leaded by human activities. The recent rapid economic and industrial developments in Indonesia have resulted in increased pressures on the environment and bring impact to the public health. Urban development has also resulted in changes in land use that directly affects water resources and ecosystems which then generate a hazard a health. Surface water and soil in some areas have been contaminated with both organic and inorganic substances, air is polluted with chemicals emitted from vehicle and industrial facilities, these all directly affects public health.

หัวข้อในการสัมนา : Environmental Challenges and Global Health Impact

สถานที่จัดงาน : Harper Hotel, Makassar

หน่วยงานที่ร่วมจัดงาน : Department of Environmental Health, Faculty of Public Health, Hasanuddin University

บทบาทของหน่วยงาน : Invited speaker

วัตถุประสงค์ของการจัดงาน : The conference aims to provide a forum for the dissemination and exchange of information on the diverse aspects Environmental and public health science prospective.,Organize the international Conference for Environmental Health and Public Health

จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม :

ข้อสรุปที่ได้จากงานสัมมนา (ถ้ามี) : Networking and collaboration

ผลลัพธ์ที่ได้จากงานสัมมนา (ถ้ามี) : Research and education collaboration

Web link อ้างอิงการดำเนินงาน : http://icerph.unhas.ac.id/

ภาพประกอบ :

SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ : 3, 4, 6, 10, 11, 12, 13, 14, 15, 17

TM_60th(ENG)_(A4)

การแก้ไขปัญหาระบบคุณภาพน้ำประปาชุมชนเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน

ชื่องานสัมมนา : การแก้ไขปัญหาระบบคุณภาพน้ำประปาชุมชนเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน

ที่มาและความสำคัญ : ชุมชนในประเทศไทยประสบกับปัญหาคุณภาพน้ำประปาไม่ได้ มาตรฐาน ซึ่งส่งผลกระทบต่อการดํารงชีวิตของประชาชนส่วนใหญ่ เนื่องจากน้ำประปาถือเป็นระบบ สาธารณูปโภคที่มีความสําคัญที่สุดสําหรับการใช้ชีวิตประจําวัน ไม่ว่าจะเป็นการอุปโภคบริโภค การประกอบ อาหาร และการชําระล้างสิ่งสกปรก ซึ่งปัญหาคุณภาพน้ำประปาไม่ได้มาตรฐานสามารถเกิดขึ้นได้จากปัญหา และข้อจํากัดของระบบประปาเดิม

หัวข้อในการสัมนา : การแก้ไขปัญหาระบบคุณภาพน้ำประปาชุมชนเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน

สถานที่จัดงาน : สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาตร์

หน่วยงานที่ร่วมจัดงาน : ศูนย์วิจัยขีดความสามารถในการแข่งขันสำนักวิจัย สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

บทบาทของหน่วยงาน : ผู้ทรงคุณวุฒิ วิทยากร

วัตถุประสงค์ของการจัดงาน : ระบบคุณภาพน้ำประปาในชุมชน ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของโครงการภายใต้ยุทธศาสตร์ การบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ พ.ศ. ๒๕๕๘ – ๒๕๖๙ เพื่อสนับสนุนให้มีการแก้ไขปัญหาการขาดแคลนน้ำ อุปโภค บริโภค ด้วยการก่อสร้างและปรับปรุงเพิ่มประสิทธิภาพระบบประปาชุมชน ในปัจจุบัน ชุมชนหลาย ๆ ชุมชนในประเทศไทยประสบกับปัญหาคุณภาพน้ำประปาไม่ได้ มาตรฐาน ซึ่งส่งผลกระทบต่อการดํารงชีวิตของประชาชนส่วนใหญ่ เนื่องจากน้ำประปาถือเป็นระบบ สาธารณูปโภคที่มีความสําคัญที่สุดสําหรับการใช้ชีวิตประจําวัน ไม่ว่าจะเป็นการอุปโภคบริโภค การประกอบ อาหาร และการชําระล้างสิ่งสกปรก ซึ่งปัญหาคุณภาพน้ำประปาไม่ได้มาตรฐานสามารถเกิดขึ้นได้จากปัญหา และข้อจํากัดของระบบประปาเดิม ดังนี้

(๑) แหล่งน้ำดิบที่นํามาใช้ในระบบน้ำประปาเดิม ทั้งน้ำผิวดินและน้ำบาดาลจะพบสารแขวนลอยต่าง ๆ จํานวนมาก หากไม่มีการผ่านกระบวนการบําบัดก่อน

(๒) ท่อประปาที่จัดทําจากวัสดุเหล็กอาบสังกะสี หากระยะเวลาการใช้งาน นานเกิน อาจทําให้ท่อประปาคุณภาพเสื่อมลง ก่อให้เกิดเป็นสนิม ส่งผลให้น้ำประปามีคราบแดงจากตะกอน สนิมมาปะปนในน้ำ ทําให้น้ำไม่สะอาด มีสี มีกลิ่น และส่งผลกระทบต่อสุขภาพผู้ใช้

(๓) เครื่องสูบน้ำไม่ได้ มาตรฐานและไม่มีการออกแบบในเรื่องของตําแหน่งการติดตั้ง เช่น ในกรณีที่ติดตั้งเครื่องสูบน้ำที่สูบโดยตรง จากเส้นท่อ อาจดูดสิ่งสกปรกจากบริเวณใกล้เคียง ทําให้น้ำไม่สะอาด

(๔) เครื่องกรองน้ำที่ใช้งานมานานโดยไม่ ล้างหรือเปลี่ยนไส้กรอง อาจเป็นแหล่งสะสมเชื้อโรคและแบคทีเรียได้

(๕) ถังเก็บน้ำ หรือถังพักน้ำ หากไม่มีการ ล้างทําความสะอาด สิ่งมีชีวิตเล็ก ๆ เจือปนเข้าไปจะเจริญเติบโตเพิ่มพูนขึ้นเรื่อย ๆ ทั้งนี้ เพื่อการแก้ไขและพัฒนาระบบน้ำประปาและระบบสุขอนามัยของประชากรใน ประเทศไทย

จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม :

ข้อสรุปที่ได้จากงานสัมมนา (ถ้ามี) : สามารถนําไปเป็นข้อมูลให้หน่วยงานต่างๆ ที่ เกี่ยวข้องใช้ประโยชน์ และดําเนินการหาแนวทางแก้ไขระบบคุณภาพน้ำประปา ปรับเปลี่ยนระบบให้มีคุณภาพมาตรฐานตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขและมาตรฐานประปาขององค์การ อนามัยโลก (WHO) ที่สากลยอมรับต่อไป

ผลลัพธ์ที่ได้จากงานสัมมนา (ถ้ามี) :

Web link อ้างอิงการดำเนินงาน : https://www.facebook.com/610174812778566/photos/

ภาพประกอบ :

SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ : 3, 6, 17

TM_60th(ENG)_(A4)

การอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศด้านสาธารณสุข (19 – 21 พฤศจิกายน 2561)

ชื่องานสัมมนา : การอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศด้านสาธารณสุข

ที่มาและความสำคัญ : สาเหตุ แนวโน้ม และภาพสะท้อนอนาคต ของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

หัวข้อในการสัมนา : หลักสูตร : สำหรับเจ้าหน้าที่สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด รุ่นที่ 2

สถานที่จัดงาน : วันที่ 19 – 21 พฤศจิกายน 2561 ณ โรงแรม เอบีน่า เฮ้าส์ เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ

หน่วยงานที่ร่วมจัดงาน : กรมอนามัย และ สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ร่วมกับ องค์กรความร่วมมือระหว่างประเทศของเยอรมัน

บทบาทของหน่วยงาน : ภาค สาธารณสุข ในการเตรียมความพร้อมสําหรับ การป้องกันและรับมือกับความเสี่ยงด้านสุขภาพจากการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศ

วัตถุประสงค์ของการจัดงาน : climate change and Health Pathway

จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม : ประมาณ 40

ข้อสรุปที่ได้จากงานสัมมนา (ถ้ามี) : ภาคสาธารณสุข ต้องเตรียมการรองรับผลกระทบต่อสุขภาพ ทั้งด้านการปรับตัว (Adaptation) และสนับสนุนการลด ก๊าซเรือนกระจก (Mitigation) เพื่อลดและป้องกัน ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่จะเกิดขึ้น

ผลลัพธ์ที่ได้จากงานสัมมนา (ถ้ามี) :

Web link อ้างอิงการดำเนินงาน : http://hia.anamai.moph.go.th/mobile_detail.php?cid=14&nid=1901

ภาพประกอบ : http://hia.anamai.moph.go.th/mobile_detail.php?cid=14&nid=1901

SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ : 3, 4, 6, 7, 11, 13, 14, 15, 17

ss-008-01-20200825

การอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศด้านสาธารณสุข

ชื่องานสัมมนา : การอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศด้านสาธารณสุข

ที่มาและความสำคัญ : บุคลากรทางสาธารณสุข ยังขาดองค์ความรู้ในการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพจากสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศ และผลกระทบต่อสุขภาพ รวมถึงปัญหามลพิษอากาศ

หัวข้อในการสัมนา : หลักสูตร : สำหรับเจ้าหน้าที่ของกระทรวงสาธารณสุข (ส่วนกลาง) สำนักงานอนามัยสิ่งแวดล้อม ในพื้นที่ รุ่นที่ 1

สถานที่จัดงาน : ระหว่างวันที่ 12 – 14 พฤศจิกายน 2561 ณ โรงแรมเบสท์เวสเทิร์นพลัส แวนด้าแกรนด์ แจ้งวัฒนะ อำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี

หน่วยงานที่ร่วมจัดงาน : กรมอนามัย และ สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ร่วมกับ องค์กรความร่วมมือระหว่างประเทศของเยอรมัน

บทบาทของหน่วยงาน : วิทยากรให้ความรู้ จัดอบรม

วัตถุประสงค์ของการจัดงาน :
– เพื่อสร้างความเข้าใจต่อความหมาย สาเหตุ แนวโน้ม และผลกระทบด้านสุขภาพของ สภาพอากาศและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ รวมถึงมาตรการแก้ไขและการ ปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

– เพื่อสร้างความเข้าใจถึงผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศต่อสุขภาพ และการปรับตัวเพื่อลดความเสี่ยงต่อสุขภาพและลดผลกระทบ

– เพื่อสร้างความเข้าใจต่อการประเมินความเสี่ยงต่อสุขภาพและผลกระทบจากการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

– เพื่อสร้างความเข้าใจต่อหลักการจัดการและการสื่อสารความเสี่ยง ผ่านกรณีศึกษาใน ประเทศไทย

– เพื่อสร้างความเข้าใจต่อนโยบายและแผนด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ในระดับ โลก ระดับประเทศ และในสาขาสาธารณสุข

– เพื่อสามารถพัฒนาและนําเสนอแนวทางการบูรณาการแผนการปรับตัวต่อการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศด้านสาธารณสุขในระดับชาติและระดับจังหวัด

จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม : เป้าหมาย 40

ข้อสรุปที่ได้จากงานสัมมนา (ถ้ามี) : เป็นโอกาสในการพัฒนาความรู้ความเข้าใจของเจ้าหน้าที่สาธารณสุข การปรับตัวต่อการขับเคลื่อนงานแบบบูรณาการข้ามภาคส่วน รวมทั้งสามารถประยุกต์ใช้ในการดำเนินงานระดับพื้นที่ ภายใต้แผนการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศด้านสาธารณสุขได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ผลลัพธ์ที่ได้จากงานสัมมนา (ถ้ามี) : เจ้าหน้าที่สํานักงานสาธารณสุขจังหวัด สามารถบูรณาการแผนหรือกิจกรรม การปรับตัวต่อ CC ในระดับส่วนกลางและพื้นที่

Web link อ้างอิงการดำเนินงาน : http://hia.anamai.moph.go.th/ewt_news.php?nid=1872&filename=index

ภาพประกอบ :

SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ : 3, 10, 11, 12, 13, 14, 15, 17

TM_60th(ENG)_(A4)

การประชุมวิชาการของการประชุมวิชาการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประทศไทย ครั้งที่ 45 (วทท45)

ชื่องานสัมมนา : การประชุมวิชาการของการประชุมวิชาการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประทศไทย ครั้งที่ 45 (วทท45)

ที่มาและความสำคัญ : การนำเสนอผลงานวิจัย และเข้าร่วมประชุมเพื่อรับฟังข้อมูลใหม่ๆ และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นร่วมกับนักวิทยาศาสตร์ชาวไทยและต่างประเทศ ในงานประชุมวิชาการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 45 (วทท 45) ภายใต้หัวข้อ “Seedling Innovation for Sustainable Development” (ต้นกล้านวัตกรรมสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน)

หัวข้อในการสัมนา : นวัตกรรมทางวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและเทคโนโลยี (STT) ซึ่งเป็นหนึ่งในการประชุมทางวิทยาศาสตร์ระดับชาติที่ใหญ่ที่สุดประจำปี

สถานที่จัดงาน : มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง จ.เชียงราย

หน่วยงานที่ร่วมจัดงาน : สมาคมวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทย (SST) และมหาวิทยาลัยโฮสต์

บทบาทของหน่วยงาน : เป็นกรรมการคัดเลือก งานวิจัยที่มานำเสนอ การวิพากษ์งานวิจัย ประธานในการนำเสนอผลงานวิจัย เป็นวิทยากร

วัตถุประสงค์ของการจัดงาน : จุดประสงค์เพื่อสร้างเวทีทางวิทยาศาสตร์สำหรับนักวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีระดับชาติและนานาชาติรวมถึง นักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่จากหลากหลายสาขาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีและเปิดโอกาสในการแบ่งปันและแลกเปลี่ยนประสบการณ์

จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม : ประมาณ 600 คน

ข้อสรุปที่ได้จากงานสัมมนา (ถ้ามี) : การเรียนรู้แลกเปลี่ยนนักวิจัยในและต่างประเทศ


ผลลัพธ์ที่ได้จากงานสัมมนา (ถ้ามี) : มีการสัมภาษณ์ผ่านสื่อต่างๆ

Web link อ้างอิงการดำเนินงาน : http://scisoc.or.th/stt/Previous-Proceedings

ภาพประกอบ :

SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ : 3, 12, 13, 17

TM_60th(ENG)_(A4)

UK & Ireland Occupational & Environmental Epidemiology and Exposure Science meeting

ชื่องานสัมมนา : UK & Ireland Occupational & Environmental Epidemiology and Exposure Science meeting

ที่มาและความสำคัญ : มลพิษทางอากาศเป็นสาเหตุสำคัญที่ป้องกันได้ของการเจ็บป่วยและโรคทั่วโลก ระดับมลพิษในหลายประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้นั้นสูงกว่า ที่พบในสหราชอาณาจักรและประเทศในยุโรปอื่น ๆ รวมไปถึงประเทศไทย

หัวข้อในการสัมนา : UK & Ireland Occupational & Environmental Epidemiology and Exposure Science meeting

สถานที่จัดงาน : สหราชอาณาจักรบริเวณใหญ่และไอซ์แลนด์เหนือ

หน่วยงานที่ร่วมจัดงาน : Institute of Occupational Medicine, โครงการ TAPHIA

บทบาทของหน่วยงาน : โครงการ TAPHIA จะรวบรวมข้อมูลที่มีอยู่มากมายเกี่ยวกับความเข้มข้นของมลพิษทางอากาศประชากรประชากรพร้อมกับสถิติการตายและการเจ็บป่วย และมลพิษในร่มและกลางแจ้งในที่อยู่อาศัยในเขตเมืองและในชนบทและข้อมูลเกี่ยวกับรูปแบบกิจกรรมเวลาของกลุ่มตัวอย่างโดยใช้แบบสอบถาม พร้อมจะตรวจสอบหลักฐานทางวิทยาศาสตร์ที่ตีพิมพ์อย่างรอบคอบสำหรับความสัมพันธ์ระหว่างมลพิษทางอากาศและสุขภาพเพื่อหาความสัมพันธ์ทางคณิตศาสตร์ที่เหมาะสม ซึ่งสามารถใช้ในการทำนายผลกระทบของการเปิดรับในระยะยาวต่อสุขภาพของประชากรไทย นอกจากนี้จะดำเนินการสร้างแบบจำลองการสัมผัสกับมลพิษของคนไทยบนพื้นฐานของข้อมูลที่มีอยู่ ผลกระทบทางสุขภาพจะแสดงเป็นตัวเลขประจำปีของการเสียชีวิตก่อนกำหนดและจำนวนปีทั้งหมดของประชากรที่หายไปหรืออาศัยอยู่กับโรค (เป็นปีที่ปรับความพิการหรือ DALYS) รวมถึงโรคเรื้อรังหลายประเภทที่ทราบกันดีว่ามีสาเหตุมาจากมลพิษทางอากาศและโรคต่าง ๆ ที่หลักฐานของสมาคมยังคงเกิดขึ้นแม้ว่าข้อมูลเหล่านี้จะถูกรายงานแยกกัน ที่สำคัญเราจะพยายามอธิบายถึงความไม่แน่นอนทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับการคำนวณอย่างชัดเจนเพื่อให้เราสามารถแสดงการประเมินผลของเราในแง่ของผลกระทบที่น่าจะเกิดขึ้นมากกว่าที่จะเป็นตัวเลขเดียว วิธีการนี้เป็นเรื่องใหม่และจะช่วยให้เราสามารถระบุแหล่งที่มาหลักของความไม่แน่นอนในการประมาณการของเราและให้คำแนะนำเพื่อปรับปรุงข้อมูลที่มีอยู่สำหรับการประเมินในอนาคต

วัตถุประสงค์ของการจัดงาน : มลพิษทางอากาศเป็นสาเหตุสำคัญที่ป้องกันได้ของการเจ็บป่วยและโรคทั่วโลก ระดับมลพิษในหลายประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้นั้นสูงกว่าที่พบในสหราชอาณาจักรและประเทศในยุโรปอื่นๆ ในประเทศไทยมักมีความเข้มข้นของโอโซนและฝุ่นละอองในอากาศที่ไม่ดีต่อสุขภาพในเมืองและเมือง มลพิษเหล่านี้ส่วนใหญ่เกิดจากการจราจรทางถนนและการปล่อยมลพิษทางอุตสาหกรรม มลพิษนี้ทวีความรุนแรงขึ้นเป็นประจำจากควัน (หมอกควัน) จากการเผาชีวมวลในภูมิภาคซึ่งส่วนใหญ่ที่ส่งผลกระทบอย่างสูง

จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม :

ข้อสรุปที่ได้จากงานสัมมนา (ถ้ามี) : โครงการ TAPHIA มีส่วนร่วมกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในประเทศไทยก่อนเพื่อให้แน่ใจว่าเราคำนึงถึงมุมมองที่หลากหลาย และเราสามารถเข้าถึงข้อมูลที่เกี่ยวข้องทั้งหมด นอกจากนี้เรายังตั้งคณะกรรมการที่ปรึกษาโครงการเพื่อช่วยสนับสนุนงานของเรา ในตอนท้ายของโครงการเราวางแผนที่จะรื้อฟื้นกับผู้มีส่วนได้เสียเหล่านี้เพื่อเริ่มการสนทนาเกี่ยวกับกลยุทธ์การแทรกแซงการปฏิบัติ ที่เป็นไปได้เพื่อลดความเสี่ยงในอนาคต

ผลลัพธ์ที่ได้จากงานสัมมนา (ถ้ามี) : ขยายงานวิจัยต่อยอด / การพัฒนาโครงร่างงานวิจัยร่วมกับผู้เข้าร่วมประชุม

Web link อ้างอิงการดำเนินงาน : http://www.taphia-project.org/?p=326

ภาพประกอบ :

SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ : 3, 11, 12, 13, 17

ss-005-20200825

ศึกษาดูงานนวัตกรรมระบบประปาหมู่บ้านรูปแบบใหม่พร้อมเข้าชมการถ่ายทอดเทคโนโลยี

ชื่องานสัมมนา : ศึกษาดูงานนวัตกรรมระบบประปาหมู่บ้านรูปแบบใหม่พร้อมเข้าชมการถ่ายทอดเทคโนโลยี

ที่มาและความสำคัญ : ปัญหาคุณภาพน้ำประปาชุมชนไม่ได้มาตรฐาน

หัวข้อในการสัมนา : ศึกษาดูงานนวัตกรรมระบบประปาหหมู่บ้านรูปแบบใหม่พร้อมเข้าชมการถ่ายทอดเทคโนโลยี

สถานที่จัดงาน : เมื่อวันพฤหัสบดีที่ ๑๙ กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๒ ที่ผ่านมา ณ เทศบาลตำบลคูเต่า อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

หน่วยงานที่ร่วมจัดงาน : สมาคมพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ไทย และศูนย์วิจัยขีดความสามารถในการแข่งขัน สำนักวิจัย สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

บทบาทของหน่วยงาน : เป็นวิทยากรให้ความรู้ วิพากษ์ให้กับหน่วยงานผู้จัด และให้ความรู้ในชุมชน

วัตถุประสงค์ของการจัดงาน : ปัญหาคุณภาพน้ำประปาชุมชนไม่ได้มาตรฐาน ยังคงมีอยู่ในหลายชุมชนของประเทศไทย โดยเฉพาะปัญหาแบคทีเรียปนเปื้อน ดังนั้นหน่วยงานจึงมีการศึกษาหาวิธีการแก้ไขปัญหาดังกล่าว ไม่ว่าจะเป็นการจัดหาเทคโนโลยี การบำบัดน้ำที่มีประสิทธิภาพมาใช้ ตลอดจนวางแผนการบริหารจัดการระบบการผลิตน้ำประปาที่ดีให้กับชุมชน

จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม : ประมาณ 30 คน

ข้อสรุปที่ได้จากงานสัมมนา (ถ้ามี) : สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ได้นำเทคโนโลยีด้านระบบผลิตน้ำประปา ที่ได้รับการรับรองในบัญชีนวัตกรรมไทย คือ ผลงาน “ระบบผลิตน้ำประปา (Water Treatment System)” หรือ นวัตกรรมป๊อกแทงค์ (POG TANKS) ของ บริษัท คิดพร้อมทํา จํากัด ดังนั้นสถาบันจึงได้จัดโครงการศึกษานวัตกรรม เมื่อวันพฤหัสบดีที่ ๑๙ กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๒ ที่ผ่านมา ณ เทศบาลตำบลคูเต่า อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา พร้อมด้วยคณะหน่วยงานภาครัฐและสื่อมวลชน อาทิ การประปาส่วนภูมิภาค กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ภาควิชาเวชศาสตร์สังคมและสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยมหิดล เพื่อศึกษากระบวนการทำงานและตรวจสอบระบบ

ผลลัพธ์ที่ได้จากงานสัมมนา (ถ้ามี) : นวัตกรรมป๊อกแทงค์ เป็นนวัตกรรมตามแผนยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี ในการสร้างโอกาสความเสมอภาคและเท่าเทียมกันทางสังคม ให้ประชาชนในชนบทมีสิทธิเข้าถึงระบบสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐานอย่างน้ำประปาที่สะอาดและมีคุณภาพผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ทั้งนี้ บริษัท คิดพร้อมทํา จํากัด ได้พัฒนาปรับปรุงระบบให้เข้ากับคุณภาพน้ำดิบและสภาพแวดล้อมของพื้นที่ในชุมชนนั้น ๆ โดยระบบใช้ได้กับน้ำดิบทั้งประเภทผิวดินและใต้ดินภายในระบบเดียว ในด้านเทคโนโลยี ป๊อกแทงค์ได้รวมเอากระบวนการในการผลิตน้ำประปามาไว้ด้วยกันด้วยหลักการ All in one เช่น การรวมขั้นตอนการเติมอากาศ การกวน การตกตะกอน การกรอง และการระบายก๊าซอันตราย มาไว้ด้วยกันในอุปกรณ์ชิ้นเดียว ทำให้จัดการดูแลรักษาได้ง่ายและใช้พื้นที่ในการก่อสร้างน้อยกว่าระบบประปาแบบเดิม นอกจากนี้ ระบบใช้เทคโนโลยีการกรองแบบ Up Flow ทำให้ตะกอนไม่อุดตันและยืดอายุใช้งานสารกรอง การล้างทำความสะอาดโดยการ Back Wash ทำได้ง่ายจากระบบวาล์วรวมศูนย์เพียงจุดเดียว จึงทำให้การจัดการระบบ และการซ่อมบำรุงมีความสะดวกและรวดเร็ว

ดังนั้น การนำเทคโนโลยีและนวัตกรรมระบบประปาป๊อกแทงค์ไปประยุกต์ใช้กับชุมชน จึงเป็นหนึ่งในแนวทางที่สามารถนำไปแก้ไขปัญหาระบบคุณภาพน้ำประปาชุมชน ไม่ได้มาตรฐานได้ หากหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ทั้งภาครัฐและเอกชน ร่วมมือร่วมใจกันจัดการและแก้ไขปัญหาน้ำประปาชุมชนก็จะนำไปสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืนแก่สังคมต่อไป

Web link อ้างอิงการดำเนินงาน : http://www.nida.ac.th/th/index.php/nida-about/2014-12-15-06-54-48/58-photos-news-2562/1531-2019-10-10-03-12-06

ภาพประกอบ :

SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ : 3, 6, 9, 11, 12, 17

ss-004-20200825

โครงการ The Night of Ideas “ความสมดุลของสิ่งแวดล้อม โดยคำนึงถึงบริบทในประเทศไทย”

ชื่องานสัมมนา : โครงการ The Night of Ideas “ความสมดุลของสิ่งแวดล้อม โดยคำนึงถึงบริบทในประเทศไทย”

ที่มาและความสำคัญ : สถานเอกอัครราชทูตฝรั่งเศสประจำประเทศไทย สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาของฝรั่งเศส หรือ Institut de recherche pour le développement (IRD) และ สมาคมฝรั่งเศสกรุงเทพ ร่วมกันจัดกิจกรรม “ค่ำคืนแห่งความคิด” หรือ “Night of Ideas Alive Bangkok” ซึ่งเป็นการสัมมนาเชิงวิชาการ-ปฏิบัติการ ในหัวข้อ TAKE A DEEP BREATH เป็นการอภิปรายเกี่ยวกับเรื่องมลพิษทางอากาศและการแก้ไขปัญหา ซึ่งกำลังเผชิญวิกฤตด้านมลภาวะทางอากาศอย่างต่อเนื่องโดยมีสาเหตุจากฝุ่นละอองขนาดเล็ก PM 2.5

หัวข้อในการสัมนา : กิจกรรม “ค่ำคืนแห่งความคิด” หรือ “Night of Ideas Alive Bangkok”

สถานที่จัดงาน :

หน่วยงานที่ร่วมจัดงาน : สถานเอกอัครราชทูตฝรั่งเศสประจำประเทศไทย สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาของฝรั่งเศส หรือ Institut de recherche pour le développement (IRD) และ สมาคมฝรั่งเศสกรุงเทพ

บทบาทของหน่วยงาน : เป็นวิทยากรนำเสนอ แลกเปลี่ยนประสบการณ์ และความรู้ให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรม

วัตถุประสงค์ของการจัดงาน : เป็นการสัมมนาเชิงวิชาการ-ปฏิบัติการ ในหัวข้อ TAKE A DEEP BREATH เป็นการอภิปรายเกี่ยวกับเรื่องมลพิษทางอากาศและการแก้ไขปัญหา ซึ่งกำลังเผชิญวิกฤตด้านมลภาวะทางอากาศอย่างต่อเนื่องโดยมีสาเหตุจากฝุ่นละอองขนาดเล็ก PM 2.5

จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม : ประมาณ 70 คน

ข้อสรุปที่ได้จากงานสัมมนา (ถ้ามี) : เป็นการระดมสมองมุ่งเน้นเกี่ยวกับความสมดุลของสิ่งแวดล้อมโดยคำนึงถึงบริบทในประเทศไทย ความสัมพันธ์ของมนุษย์กับโลก และสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ เพื่อให้ดำเนินชีวิตในสังคมร่วมกันอย่างมีสุขอนามัยที่ดีขึ้น เพื่อเรียกร้องข้อเสนอนี้ไปยังหน่วยงานภาครัฐและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ร่วมกันเร่งดำเนินการหาแนวทางแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม และปัญหามลพิษทางอากาศ เพื่อช่วยรักษาสมดุลของระบบนิเวศให้เกิดความยั่งยืน

ผลลัพธ์ที่ได้จากงานสัมมนา (ถ้ามี) : นำข้อมูลที่ได้เผยแพร่สื่อ ให้ประชาชนเข้าใจทั้งในระดับประเทศ และนานาชาติ เนื่องจากมีผู้เข้าประชุมมาจากหลายหลากประเทศ

Web link อ้างอิงการดำเนินงาน : https://www.greennetworkthailand.com/

ภาพประกอบ :

SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ : 3, 11, 12, 13, 17

TM_60th(ENG)_(A4)

โครงการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ จากมลพิษอากาศ (Assessing Air Pollution and Health Impact in Thailand)​

ชื่องานวิจัย : โครงการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ จากมลพิษอากาศ (Assessing Air Pollution and Health Impact in Thailand)​

คณะ/สาขาวิชา : เวชศาสตร์เขตร้อน / อนามัยสิ่งแวดล้อม

ที่มาความสำคัญ : ประเทศไทยเผชิญปัญหามลพิษอากาศ และส่งผลกระทบต่อสุขภาพจากการรับสัมผัส

ขอบเขต/พื้นที่ศึกษา : พื้นที่ประเทศไทย และประเทศเพื่อนบ้าน (CLMV: Cambodia, Loas, Myanmar and Vietnam)

วัตถุประสงค์ : การพัฒนาตัวแบบจำลองการคาดการณ์ฝุ่นละออง รูปแบบของการเกิดฝุ่นละอองและการศึกษาผลกระทบต่อสุขภาพ

แหล่งทุนสนับสนุน : วช.

หน่วยงานความร่วมมือ : โครงการประเทศไทยไร้หมอกควัน ร่วมกับมหาวิทยาลัยเชียงใหม่เครือข่ายพันธมิตรมหาวิทยาลัยเพื่อการวิจัยและโครงการวิจัยท้าทายไทยสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติหรือ วช. และชุมชนในพื้นที่

ผู้มึส่วนได้ส่วนเสีย : ชุมชนต่าง ๆ ประชาชนทั่วไป นักวิจัยจากสถาบันต่างๆ

ระดับความร่วมมือ : มหาวิทยาลัยเชียงใหม่เป็นแกนหลักร่วมกับมหาวิทยาลัยต่างๆ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ทำงานร่วมกับชุมชนและหน่วยงานท้องถิ่น

ผลลัพธ์ที่นำไปใช้ประโยชน์ต่อ
(ระบุวันที่มีการนำไปใช้) : ใช้เป็นระบบเตือนภัยให้กับหน่วยงานในพื้นที่ บุคลากรทางสาธารณสุข ประชาชนทั่วไป

Web link อ้างอิงการดำเนินงาน : https://www.naewna.com/local/384284

ภาพประกอบ : ไม่มี

SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ : 3,15,17